Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9301
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวาสนา ทวีกุลทรัพย์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพระมหาศรพนา ลาคำ, 2523-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-08-30T08:40:41Z-
dc.date.available2023-08-30T08:40:41Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9301-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการใช้สื่อสิ่งพิมพ์ประเภทหนังสือเรียนประกอบการเรียนวิชาพระพุทธศาสนา สำหรับนักเรียนโรงเรียนวัดเฉลิมพระเกียรติ เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรีเขต 1 ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปิที่ 5-6 จำนวน 220 คนที่กำลังศึกษาในภาคเรียนที่ 1ปีการศึกษา 2555 ที่โรงเรียนวัดเฉลิมพระเกียรติ เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 1 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามความคิดเห็นต่อการใช้สื่อสิ่งพิมพ์ประเภทหนังสือเรียนประกอบการเรียน วิชาพระพุทธศาสนา สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่าการใช้สื่อสิ่งพิมพ์ประเภทหนังสือเรียนประกอบการเรียน วิชาพระพุทธศาสนา โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน ดังนี้ คือ (1) การใช้เนื้อหาสาระและเทคนิคด้านส่วนนำแผนผังแนวคิดช่วยให้นักเรียนทราบถึงภาพรวมของเนื้อหาทั้งหมดที่ จะต้องศึกษาภาษาที่ใช้ช่วยให้นักเรียนอ่านแล้วเข้าใจง่าย กิจกรรมนำสู่การเรียนช่วยให้นักเรียนปรับพื้นฐานความรู้ของนักเรียนส่วนท้าย คือ หน้าประกาศช่วยให้นักเรียนทราบรายละเอียด ที่เกี่ยวข้องกับการจัดพิมพ์และเทคนิค และกระดาษที่ใช้มีความคงทนถาวรต่อการหยิบใช้ของนักเรียน (2) การใช้หนังสือเรียนสำหรับการเรียนในชั่วโมงเรียนช่วยให้นักเรียนมีความสนใจในการเรียน ระหว่างเรียนนักเรียนใช้ประกอบกิจกรรมที่เรียนหลังเรียนใช้อ่านทบทวนความรู้ที่ได้ศึกษาผ่านมา (3) การใช้หนังสือเรียนสำหรับการเรียนนอกชั่วโมงเรียน นักเรียนใช้ศึกษาหาความรู้เสริมจากที่เรียนในห้องเรียน จะใช้หนังสือเรียนเป็น สื่อเสริมช่วยในการทำการบ้าน และใช้อ้างอิงแหล่งที่มาของเนื้อหา และ (4) ประโยชน์จากการใช้หนังสือเรียน ทำให้นักเรียนสามารถทบทวนความรู้ด้วยตนเองไต้ตลอดเวลา คุณลักษณะที่พึงประสงค์ที่ได้จากหนังสือเรียน คือ นักเรียนสามารถคิดวิจารณ์เรื่องราวต่างๆ และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสิ่งพิมพ์th_TH
dc.subjectสื่อการสอนth_TH
dc.subjectพุทธศาสนา--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาth_TH
dc.titleการใช้สื่อสิ่งพิมพ์ประเภทหนังสือเรียนประกอบการเรียนวิชาพุทธศาสนา สำหรับนักเรียนโรงเรียนวัดเฉลิมพระเกียรติ เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นนทบุรี เขต 1th_TH
dc.title.alternativeThe use of textbooks as printed learning media in the Buddhism Course for students at Wat Chalerm Phra Kiat School in Nonthaburi Primary Education Service Area 1en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study the use of textbooks as printed learning media in the Buddhism Course for students at Wat Chalerm Phra Kiat School in Nonthaburi Primary Education Service Area 1. The research population comprised 220 Prathom Suksa V - VI students studying in the first semester of the 2012 academic year at Wat Chalerm Phra Kiat School in Nonthaburi Primary Education Service Area 1. The employed research instrument was a questionnaire on opinions toward the use of textbooks as printed learning media in the Buddhism Course. Statistics employed for data analysis were the percentage, mean, and standard deviation. Research findings showed that the overall use of textbooks as printed learning media in the Buddhism Course was at the high level. When individual aspects of the use were considered, it was found to be at the high level in all aspects the details of which were as follows: (1) the use of textbook contents and concept mapping as the introductory technique helped the students to know the whole content they have to study; the textbook language was easy for the students to understand; activities for learning helped the student to adjust their knowledge background; the announcement page helped the students to know details on publication and technique; and the textbook paper was durable and convenient for the students to use; (2) the use of textbooks for learning in the classroom sessions helped the students to be interested in their learning and helped them to undertake their learning activities; after learning the students used textbooks for reviewing what they had recently learned; (3) in the use of textbooks for learning outside of the classroom, the students used them for learning more knowledge in addition to what they had learned in the classroom; they used them as the supplementary media in doing their homework and as reference sources for knowledge contents; and (4) the benefits of using textbooks were that the students could review their knowledge by themselves all the time; and the desirable characteristics they gained from using textbooks were that they were able to develop their critical thinking and to apply the obtained knowledge in solving their problems.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
143502.pdf11.9 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons