Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9344
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศันสนีย์ สังสรรค์อนันต์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorไพโรจน์ เรื่องลือ, 2527-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-09-01T02:46:43Z-
dc.date.available2023-09-01T02:46:43Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9344-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาชุดการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปืที่ 1 ให้มีประสิทธิภาพ ตามเกณฑ์ที่กำหนด (2) ศึกษาความก้าวหน้าทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยชุดการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ และ (3) ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อชุดการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์ ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ กลุ่มตัวอย่างที่ ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนบ้านทุ่งมน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุทัยธานี เขต 1 จำนวน 41 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม โดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยการสุ่ม เครื่องมือ ที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย (1) ชุดการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 (2) แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนแบบคู่ขนาน และ (3) แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อชุดการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ สถิติ ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าประสิทธิภาพ E1/E2 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ชุดการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีประสิทธิภาพ 82.26/81.71 เป็นไปตามเกณฑ์ ที่กำหนด 80/80 (2) นักเรียนที่เรียนด้วยชุดการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ มีความก้าวหน้าทางการเรียนเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติที่ระดับ .05 และ (3) นักเรียนที่เรียนด้วยชุดการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่องฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์มีความคิดเห็นในภาพรวมว่าชุดการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์มีความเหมาะสมในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่ามีความคิดเห็นด้านการได้รับประโยชน์จากการเรียนด้วยชุดการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์ทำให้นักเรียนมีความกระตือรือร้น และสนใจการเรียนอยู่ในระดับมากที่สุดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isootherth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectเทคโนโลยี--การศึกษาและการสอนth_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)th_TH
dc.subjectหนังสืออิเล็กทรอนิกส์--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)th_TH
dc.titleการพัฒนาชุดการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุทัยธานี เขต 1th_TH
dc.title.alternativeDevelopment of an electronic instructional package via the Internet Network on the information Technology Course Topic of Hardware and Software for Mathayom Suksa I students in schools under Uthai Thani Primary Education Service Area Office 1en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were (1) to develop an electronic instructional package via the Internet network on the Information Technology Course topic of Hardware and Software for Mathayom Suksa I students based on the set efficiency criterion; (2) to study the learning progress of the students learning from the electronic instructional package via the Internet network on the Information Technology Course topic of Hardware and Software; and (3) to study the opinions of the students toward the electronic instructional package via the Internet network on the Information Technology Course topic of Hardware and Software. The research sample consisted of 41 Mathayom Suksa I students of Ban Thungmon School under Uthai Thani Primary Education Service Area Office 1 during the second semester of the 2020 academic year, obtained by cluster sampling using classroom as the sampling unit. The employed research instruments comprised (1) an electronic instructional package via the Internet network on the Information Technology Course topic of Hardware and Software; (2) two parallel forms of an achievement test for pre-testing and posttesting; and (3) a questionnaire on student’s opinions toward the electronic instructional package via the Internet network on the Information Technology Course topic of Hardware and Software. Statistics used for data analysis were the E1/E2 efficiency index, mean, standard deviation, and t-test. Research findings showed that (1) the developed electronic instructional package via the Internet network on the Information Technology Course topic of Hardware and Software was efficient at 82.26/81.71, thus meeting the set 80/80 efficiency criterion; (2) the students learning from the electronic instructional package via the Internet network on the Information Technology Course topic of Hardware and Software achieved learning progress significantly at the .05 level; and (3) the students who learned from the electronic instructional package via the Internet network on the Information Technology Course topic of Hardware and Software had the overall opinion that the electronic instructional package was appropriate at the highest level; when specific aspects of their opinions were considered, it was found that they had opinion toward the benefit of learning from the electronic instructional package that enabled them to have enthusiasm and be interested in learning at the highest level.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
166480.pdf25.29 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons