Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9366
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วาสนา ทวีกุลทรัพย์, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | มัทรี ขนรกุล, 2525- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-09-01T07:39:31Z | - |
dc.date.available | 2023-09-01T07:39:31Z | - |
dc.date.issued | 2554 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9366 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มสาระ การเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี วิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง พัฒนาการคอมพิวเตอร์ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด 80/80 (2) ศึกษาความก้าวหน้าทางการเรียนของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่เรียนจากบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง พัฒนาการคอมพิวเตอร์ และ (3) ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบประสิทธิภาพ คือ นักเรียนระดับชั้นมัธยม ศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนคลองใหญ่วิทยาคม จังหวัดตราด ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 จำนวน 30 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย (1) บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง พัฒนาการคอมพิวเตอร์ (2) แบบทดสอบก่อนเรียน และแบบทดสอบหลังเรียนแบบคู่ขนาน และ (3) แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าประสิทธิภาพ £1/£2 ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า (1) บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง พัฒนาการคอมพิวเตอร์ มีประสิทธิภาพ 80.95/80.48 เป็นไปตามเกณฑ์ 80/80 (2) นักเรียนที่เรียนจากบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน มีความก้าวหน้าทางการเรียนเพิ่มขื้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) นักเรียนมีความคิดเห็นต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนว่ามีคุณภาพในระดับเห็นด้วยมาก | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | other | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา --การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | คอมพิวเตอร์--การศึกษาและการสอน--คอมพิวเตอร์ช่วยสอน | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--ศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.title | การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีเรื่องพัฒนาการคอมพิวเตอร์สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนคลองใหญ่วิทยาคม จังหวัดตราด | th_TH |
dc.title.alternative | The development of a computer-assisted instruction program in the career and technology learning area on development of computers for mathayom suksa I students at Klongyai Wittayakom School in Trat Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were (1) to develop a computer-assisted instruction program in the Career and Technology Learning Area on Development of Computers based on the set 80/80 efficiency criterion; (2) to study the learning progress of Mathayom Suksa I students who learned from the computer-assisted instruction program on Development of Computers; and (3) to study opinions of students who learned from the computer-assisted instruction program. The research sample employed for efficiency verification consisted of 30 Mathayom Suksa I students studying in the second semester of the 2011 academic year at Klongyai Wittayakom School in Trad Province, obtained by cluster sampling. The employed research instruments comprised (1) a computer-assisted instruction program on Development of Computers; (2) two parallel forms of an achievement test for pre-testing and post-testing; and (3) a questionnaire on student’s opinions toward the computer-assisted instruction program. Statistics for data analysis were the E1/E2 efficiency index, mean, standard deviation, and t-test. Research findings showed that the developed computer-assisted instruction program on Development of Computers was efficient at 80.95/80.48, thus meeting the set 80/80 efficiency criterion; (2) the students who learned from the computer-assisted instruction program achieved learning progress significantly at the .05 level; and (3) the students had opinions that quality of the developed computer-assisted instruction program was at the high level. | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
130375.pdf | 29.84 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License