Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9417
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรางคณา โตโพธิ์ไทย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวรรณพล เหมือนพันธุ์, 2526-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-09-08T08:19:15Z-
dc.date.available2023-09-08T08:19:15Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9417-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความต้องการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการศึกษาของครูอำเภอบ้านแท่น สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 2 ประชากรที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ได้แก่ ครูอำเภอบ้านแท่น สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 2 ปีการศึกษา 2557 จำนวน 289 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามความต้องการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาของครูอำเภอบ้านแท่น สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 2 สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า ความต้องการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาของครูอำเภอบ้านแท่น สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 2 โดยภาพรวมและรายด้าน อยู่ในระดับมาก ดังนี้ (1) ความต้องการเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านบริหาร ผู้บริหารควรจัดหาเครื่องใช้สำนักงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศให้เพียงพอกับความต้องการของบุคลากรในหน่วยงาน (2) ความต้องการการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านวิชาการควร มีการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตเพื่อวางแผน จัดการเรียนการสอนในกลุ่มสาระ การเรียนรู้ต่างๆ และ (3) ความต้องการการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ ด้านบริการควร มีการจัดบริการสื่อโสตทัศนูปกรณ์แก่ครูครบทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectเทคโนโลยีสารสนเทศ--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)--ไทย--ชัยภูมิth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--ศึกษาศาสตร์th_TH
dc.titleความต้องการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาของครูอำเภอบ้านแท่นสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 2th_TH
dc.title.alternativeThe needs for utilization of ment of information technology for educationof Ban Thaen District Teachers under Chaiyaphum Primary Education Service Area Office 2en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study the needs for utilization of information technology for education of Ban Thaen district teachers under Chaiyaphum Primary Education Service Area Office 2. The research population comprised 289 Ban Thaen district teachers under Chaiyaphum Primary Educaion Service Area Office 2. The employed research instrument was a questionnaire on the needs for utilization of information technology for education of Ban Thaen district teachers under Chaiyaphum Primary Education Service Area Office 2. Statistics employed for data analysis were the percentage, mean, and standard deviation. Research findings showed that both the overall and by-aspect needs for utilization of information technology of Ban Thaen district teachers under Chaiyaphum Primary Education Service Area Office 2 were at the high level, which could be further elaborated as follows: (1) on the needs for utilization of information technology in the administration aspect, the administrators should procure office equipment for information technology sufficient for the needs of the school personnel; (2) on the needs for utilization of information technology in the academic affaire aspect, there should be information retrieval via the Internet for instructional planning in various learning areas; and (3) on the needs for utilization of information technology in the service aspect, the audio-visual media services should be provided to teachers in all learning areas.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
143468.pdf8.8 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons