Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9440
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทวีวัฒน์ วัฒนกุลเจริญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorศรีสุวรรณ บรมสุข, 2529-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-09-13T02:39:59Z-
dc.date.available2023-09-13T02:39:59Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9440-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการใช้เครือข่ายสังคมเพื่อการจัดการเรียน การสอนของครูมัธยมศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ครูมัธยมศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมในจังหวัดสุราษฎร์ธานี ที่ปฏิบัติการสอน ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 จำนวน 222 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบหลาย ขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม การใช้เครือข่ายสังคมเพื่อ การจัดการเรียนการสอนของครูมัธยมศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคม ศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยปรากฏว่า การใช้เครือข่ายสังคมเพื่อการจัดการเรียนการสอนของครูมัธยมศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมในจังหวัดสุราษฎร์ธานี โดย ภาพรวมอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมากทั้ง 3 ด้าน ตามลำดับดังนี้ (1) การใช้เครือข่ายสังคมเพื่อการจัดการเรียนการสอนด้านจริยธรรมและมารยาทการใช้เครือข่าย สังคม คือ ครูไม่นำความลับของผู้อื่นไป เผยแพร่ในระบบเครือข่ายสังคมโดยไม่ได้รับอนุญาต (2) การใช้เครือข่ายสังคมเพื่อ การจัดการเรียนการสอน คือ ครูใช้เครือข่ายสังคมในการค้นหาความรู้ใหม่ๆ เพิ่มเติมต่อยอดจากความรู้เดิม และ (3) การใช้เครือข่ายสังคมเพื่อการจัดการเรียนการสอน ด้านการสื่อสาร และบริการของการใช้เครือข่ายสังคม คือ ครูใช้เครือข่ายสังคมในสนทนากับเพื่อน และบุคคลอื่น โดยการพิมพ์ข้อความth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectนักศึกษา--เครือข่ายสังคมth_TH
dc.subjectเทคโนโลยี--การศึกษาและการสอนth_TH
dc.subjectคอมพิวเตอร์ช่วยการสอนth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาth_TH
dc.titleการใช้เครือข่ายสังคมเพื่อการจัดการเรียนการสอนของครูมัธยมศึกษากลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมในจังหวัดสุราษฎร์ธานีth_TH
dc.title.alternativeThe use of social network for instructional management of secondary education teachers in the social studies, Religion and Culture Learning Area in Surat Thani Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to investigate the use of social network for instructional management of secondary education teachers in the Social Studies, Religion and Culture Learning Area in Surat Thani province. The research sample consisted of 222 secondary education teachers in the Social Studies, Religion and Culture Learning Area in Surat Thani province during the first semester of the 2018 academic year, obtained by multi-stage sampling. The employed research instrument was a questionnaire on the use of social network for instructional management of secondary education teachers in the Social Studies, Religion and Culture Learning Area. Statistics employed for data analysis were the percentage, mean, and standard deviation. Research findings revealed that the overall use of social network for instructional management of secondary education teachers in the Social Studies, Religion and Culture Learning Area in Surat Thani province was rated at the high level. When specific aspects of the use were considered, it was found that all three aspects were rated at the high level. All three aspects with the items receiving the top rating mean were specified as follows: (1) the aspect of the use of social network for instructional management in the substance of the ethics and ethiquette of using social network, with the item of the teachers not taking the secrets of other people to disseminate in the social network system without receiving prior allowance; (2) the aspect of the use of social network for instructional management, with the item of the teachers using social network in searching for new knowledge to add to their existing knowledge; and (3) the aspect of the use of social network for instructional management in the substance of communications and services with the use of social network, with the item of the teachers using social network in conversation with friends and the other people by printing messages.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
166503.pdf13.61 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons