Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9454
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธนศักดิ์ สายจำปาth_TH
dc.contributor.authorหทัยภัทร ตรัยวารินทร์, 2533-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-09-13T03:54:03Z-
dc.date.available2023-09-13T03:54:03Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9454en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) บริบทสังคมการเมืองไทยในห้วงการก่อตั้งพรรคอนาคตใหม่ จนกระทั่งศาลรัฐธรรมนูญมีมติยุบพรรคอนาคตใหม่ (2) เพื่อศึกษากลไกการท้าทายการครองอำนาจนำเดิมโดยพรรคอนาคตใหม่ เพื่อช่วงชิงพื้นที่ความคิดทางการเมืองในสังคมไทย (3) ศึกษากระบวนการสร้างวาทกรรมตอบโต้วาทกรรมหลักในสังคมของพรรคอนาคตใหม่ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยการรวบรวมข้อมูลจากตัวบทที่ปรากฏในเอกสาร และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ สื่อสังคมออนไลน์ที่เกี่ยวข้องกับการสร้างกลไกการท้าทายการครองอำนาจนำเดิม เพื่อช่วงชิงพื้นที่ความคิดทางการเมืองในสังคมไทย และการผลิตสร้างวาทกรรมเพื่อตอบโต้วาทกรรมหลักที่ดำรงอยู่ในสังคมไทย แล้วจึงวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการบรรยายเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า(1) บริบทสังคมการเมืองไทยในห้วงวิกฤตการครองอำนาจนำของผู้นำนำโดย พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ไม่สามารถครองอำนาจนำทางความคิดในสังคมการเมืองไทยได้อย่างสมบูรณ์ เป็นปัจจัยสำคัญให้พรรคอนาคตใหม่ ชิ่งเป็นพรรคการเมืองใหม่ที่รวมตัวกลุ่มคนผู้มีสถานะรอง ที่ถูกกดทับหรือปิดกั้นโอกาสในสังคม ทำหน้าที่ขับเคลื่อนสังคมการเมืองไทยภายใต้บริบทการนำประเทศโดยรัฐบาลทหาร ด้วยการมุ่งเน้นการทำงานทางความคิด ภายใต้อุดมการณ์หลัก คือ ต่อต้านการรัฐประหาร ฟื้นความเชื่อมั่นในระบอบประชาธิปไตย (2) พรรคอนาคตใหม่ท้าทายกลุ่มอำนาจนำเดิมเปลี่ยนโลกทัศน์ใหม่ ด้วยการช่วงชิงพื้นที่ความคิดทางการเมือง ผ่านการผลิตสร้างพื้นที่ทางความคิดหรือสื่อสังคมออนไลน์ของตนเอง ในการสร้างการรับรู้ เผยแพร่ ให้ข้อมูล ในลักษณะของการโน้มน้าวไปยังประขาชนโดยปราศจากการบีบบังคับเฉกเช่นกลไกของรัฐ เพื่อเปลี่ยนมโนทัศน์ทางสังคมการเมืองไทยที่จะนำไปสู่การปลูกฝังค่านิยม ความคิด ความเชื่อ และการแสดงพฤติกรรมที่จะเป็นการสนับสนุนพรรคอนาคตใหม่ (3) พรรคอนาคตใหม่อาศัยอำนาจทางภาษาในทางการเมืองเป็นกลยุทธ์ในการเปลี่ยนความคิดของผู้คน ผ่านการผลิตสร้างวาทกรรม เพื่อตอบโต้วาทกรรมหลักในสังคมการเมืองไทย ตลอดจนรี้อสร้างวาทกรรม และกำหนดนิยามความหมาย อุดมการณ์ทางสังคมการเมืองใหม่ เพื่อนำไปสู่การเปลี่ยนวิถีชีวิตของผู้คนในสังคมการเมืองไทยth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการเมืองการปกครอง--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectพรรคอนาคตใหม่--กิจกรรมทางการเมืองth_TH
dc.subjectการต่อสู้ทางการเมืองth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การเมืองการปกครองth_TH
dc.titleพรรคอนาคตใหม่กับการสร้างกลไกการช่วงชิงพื้นที่ความคิดทางการเมืองในสังคมไทยth_TH
dc.title.alternativeFuture Forward Party and the fight for political position in the Thai societyen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study aims to study 1) Social context of Thai political society during the period of founding The Future Forward Party until the constitutional court had resolution to dissolve The Future Forward Party; 2) the apparatuses of challenging old hegemony by The Future Forward Party to win political position in Thai society; and 3) procedure of discursive construction to retort main discourses in society of The Future Forward Party. This study is qualitative research which gathers information from relevant document, electronic media and social media that concern with creating challenging apparatus of the old hegemony to win political position in Thai society and the discursive construction to retort main discourses in Thai society. Then the information is analyzed by descriptive method. The study found that 1) the social context of Thai politics during the crisis of the old hegemony leading by General Prayut Chan-ocha was unable to completely proceed hegemony of notion in Thai society. This was the main factor that The Future Forward Party, a new political party gathered of less the privileged advocate for the development of the Thai political society by focusing on ideological work and under the military leadership with an aim to recover the confidence of democracy. 2) The Future Forward Party challenged the old hegemony and changed new perspectives by using ideological state apparatuses to win the war of political position through apparatuses such as congress apparatus or creating space of notion or social media of their own to create awareness, distributing and providing information to convince people without enforcement which the state apparatus did. This was to change perspective of Thai political society and lead to cultivating value of notion, beliefs and the behavioral expression that supported The Future Forward Party. 3) The Future Forward Party used the power of political language as a strategy to change the thought of people through discursive construction to retort main discourses in Thai society including deconstructive discourses and identify concept and new political society ideology that led to new lifestyle of people in Thai political societyen_US
Appears in Collections:Pol-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.7 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons