Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9523
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิตยา เพ็ญศิรินภา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorพรทิพย์ กีระพงษ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorธีรวรรณ จันทร์คุ้ม, 2535--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-09-14T08:51:29Z-
dc.date.available2023-09-14T08:51:29Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9523-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม.(สาธารณสุขศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2563th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเชิงพรรณนานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดจันทบุรี (2) ศึกษาปัจจัยส่วนบุคคล บรรยากาศองค์การและภาวะผู้นำของหัวหน้าหอผู้ป่วยของพยาบาลวิชาชีพ (3) เปรียบเทียบคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลวิชาชีพในกลุ่มที่มีปัจจัยส่วนบุคคล บรรยากาศองค์การ และภาวะผู้นำของหัวหน้าหอผู้ป่วยแตกต่างกัน และ (4) เปรียบเทียบคุณภาพชีวิตการทํางานของพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลชุมชนขนาด 30 เตียง และขนาด 60 เตียง จังหวัดจันทบุรี ประชากรที่ศึกษา คือ พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดจันทบุรี จำนวน 53 คน กลุ่มตัวอย่างจำนวน 230 คน จากการสุ่มแบบชั้นภูมิตามโรงพยาบาลชุมชนขนาด 60 เตียง 2 แห่ง จํานวน 58 คน และโรงพยาบาลชุมชนขนาด 30 เตียง 9 แห่ง จำนวน 172 คน เครื่องมือวิจัยเป็นแบบสอบถาม มีค่าความเชื่อมั่นระหว่าง 0.84 0.93 สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบแบบที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการวิจัย พบว่า (1) คุณภาพชีวิตการทํางานของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดจันทบุรี อยู่ในระดับดี (2) ปัจจัยส่วนบุคคล พบว่า พยาบาลวิชาชีพมีอายุเฉลี่ย 40.70 ปี สถานภาพสมรส ประสบการณ์ในการปฏิบัติงานอยู่ระหว่าง 21-25 ปี ตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพระดับชำนาญการและปฏิบัติงานที่แผนกงานการพยาบาลผู้ป่วยในมากที่สุด ส่วนปัจจัยด้านบรรยากาศองค์การของโรงพยาบาลและด้านภาวะผู้นำของหัวหน้าหอผู้ป่วยของพยาบาลวิชาชีพอยู่ในระดับดี (3) พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในแผนกที่ปฏิบัติงาน บรรยากาศองค์การ และภาวะผู้นำของหัวหน้าหอผู้ป่วยของพยาบาลวิชาชีพที่แตกต่างกัน มีคุณภาพชีวิตการทํางานแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ (4) พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลชุมชนขนาด 30 เตียง และ 60 เตียง พบว่า มีคุณภาพชีวิตการทํางานไม่แตกต่างกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectคุณภาพชีวิตการทำงานth_TH
dc.subjectพยาบาล--ไทย--จันทบุรี--ความพอใจในการทำงานth_TH
dc.titleคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดจันทบุรีth_TH
dc.title.alternativeQuality of work life of professional nurses at community hospitals in Chanthaburi Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this descriptive study were: (1) to explore the levels of quality of work life of registered or professional nurses (RNs); (2) to identify RNs’ personal factors as well as organizational climate and head nurses’ leadership; (3) to compare the quality of work life of RNs with differences in personal factors, organizational climate, and head nurses’ leadership; (4) to compare the quality of work life of RNs working at 30-bed and 60-bed community hospitals in Chanthaburi province. The study population was 453 RNs working at community hospitals in Chanthaburi province, 230 of them were selected using stratified random sampling from two 60-bed hospitals and nine 30-bed hospitals, consisting of 58 and 172 RNs, respectively. Data were collected using a questionnaire with the reliability coefficient values between 0.84 and 0.93. The statistics used were frequency, percentage, mean, standard deviation, One-way ANOVA and Independent Sample t-test. The results showed that, among participating professional nurses in Chanthaburi’s community hospitals: (1) their quality of work life was at the good level; (2) regarding personal factors, on average, they were 40.7 years old and married with 21–25 years of work experiences, working at a professional level in inpatient departments, and had organizational climate and head nurses’ leadership at the good levels; (3) working in different departments, under different organizational climate and head nurses’ leadership, was significantly associated with different quality of work life, p-value < 0.05; and (4) those working at 30-bed and 60-bed hospitals had no differences in their quality of work lifeen_US
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม25.92 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons