Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9529
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปกกมล เหล่ารักษาวงษ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorอารยา ประเสริฐชัย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorศุภชาติ เขมวุฒิพงษ์, 2512--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-09-15T02:26:53Z-
dc.date.available2023-09-15T02:26:53Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9529-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม.(สาธารณสุขศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2563th_TH
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยเชิงพรรณนาแบบภาพตัดขวางนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ความคงอยู่ของอาสาสมัครกู้ชีพในจังหวัดตรัง และ (2) ปัจจัยที่มีผลต่อความคงอยู่ของอาสาสมัครกู้ชีพใน ประชากรที่ศึกษา คือ อาสาสมัครกู้ชีพที่ขึ้นทะเบียนเป็นอาสาสมัครฉุกเฉินการแพทย์ทั้งหมดในหน่วยปฏิบัติการฉุกเฉินเบื้องต้น จำนวน 1,555 คน คำนวณขนาดตัวอย่างได้จำนวนกลุ่มตัวอย่าง 312 คน แล้วทำการสุ่มเลือกแบบมีระบบ เก็บข้อมูลโดยแบบสอบถามมีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.814 วิเคราะห์โดยใช้สถิติเป็นค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษาพบว่า (1) ความคงอยู่ของอาสาสมัครกู้ชีพ จังหวัดตรัง โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก พบว่ากลุ่มตัวอย่างตั้งใจที่จะปฏิบัติงานเป็นอาสากู้ชีพในหน่วยงานนี้ให้นานที่สุดเท่าที่จะทำได้ และ (2) ปัจจัยที่มีผลต่อความคงอยู่ของอาสาสมัครกู้ชีพ จังหวัดตรัง ได้แก่ ปัจจัยส่วนบุคคล งานประจํา งานหลักที่ทำในปัจจุบัน อายุเมื่อแรกเข้าเป็นอาสาสมัครกู้ชีพ ปัจจัยจูงใจโดยรวม ปัจจัยค้ำจุนโดยรวม ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 ซึ่งสามารถทำนายความคงอยู่ของอาสาสมัครกู้ชีพ จังหวัดตรัง ได้ร้อยละ 53 การศึกษาครั้งนี้ชี้ให้เห็นว่าปัจจัยจูงใจและปัจจัยค้ำจุนมีความสัมพันธ์กับความคงอยู่ของอาสาสมัครกู้ชีพเป็นอย่างมากth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectอาสาสมัครปฏิบัติการค้นหาและช่วยชีวิต--ไทย--ตรัง--ความพอใจในการทำงานth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อความคงอยู่ของอาสาสมัครกู้ชีพ จังหวัดตรังth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting emergency medical responders’ retention in Trang Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis cross-sectional study aimed to: (1) determine the retention; and (2) identify factors affecting the retention of the emergency medical responders in Trang Province. The population was 1,555 emergency medical responders who registered as an emergency medical volunteers at the first responder units of Trang Province. The 312 sample sizes were calculated and selected by systematic random. The data were collected using the questionnaire. The questionnaire had a reliability value of 0.814. The data were analyzed such as number, percent, mean, standard deviation, and multiple linear regression analysis. This study found that: (1) total retention level of the first responder was high. The volunteers had the highest score on the intention to remain to volunteer as long as possible; and (2) The factors related to retention of the emergency medical responders in Trang Province were personal factors, having permanent or current job, first age at becoming responders, the overall motivation factors, and the overall contributing factors (P-value <0.05). These factors cloud predicted the retention of the first responders to 53%. This study suggested that motivation and contributing factors were highly correlated with the retention of rescuersen_US
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.12 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons