Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9538
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุวีณา ตั่งโพธิสุวรรณth_TH
dc.contributor.advisorบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.contributor.authorเตชินี มโนภาส, 2530-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-09-15T03:18:41Z-
dc.date.available2023-09-15T03:18:41Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9538en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพี่อศึกษา (1) ปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ใช้บริการเครือข่ายสังคม ออนไลน์ในอำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี (2) พฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ของผู้ใซับริการใน อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี (3) ถึงความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับพฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคม ออนไลน์ของผู้ใชับริการในอำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ ผู้ใชับริการเครือข่ายสังคมออนไลน์ในอำเภอปากเกร็ด จังหวัด นนทบุรี โดยการศึกษานี้ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างจำนวนทั้งสี้น 400 คน ด้วยวิธีการคัดเลือกแบบสะดวกในการเลือกผู้ตอบแบบสอบถามตามห้างสรรพสินค้าและแหล่งชุมชน ต่างๆในอำเภอปากเกร็ด สถิติที่ใช้ไนการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ สถิติเชิงพรรณนาโดยใช้การแจกแจงความถี่ ค่าร้อย ละและสถิติเชิงอนุมาน โดยใช้การทดสอบไคสแควร์ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 ผลการศึกษาพบว่า(1) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงมีอายุระหว่าง 25 - 34ปีสถานภาพ โสด จบการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่า ประกอบอาชีพเป็นพนักงานบริษัทเอกชน และมีรายได้ต่อเดือน 10,001 -20,000 บาท (2) พฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์พบว่าใช้บริการเครือข่ายสังคมออนไลน์ เฟ่ซบุ๊ค บ่อยที่สุด โดยกิจกรรมที่ทำเมื่อใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ คือ นิยมสนทนาผ่านโปรแกรมสนทนา เพื่อ พูดคุย พบปะเพื่อนและครอบครัว การตัดสินใจใช้บริการเครือข่ายสังคมออนไลน์ด้วยตนเอง และใช้บริการ เครือข่ายสังคมออนไลน์ผ่านสมาร์ทโฟน ขณะที่อยู่บ้าน โดยใช้บริการเครือข่ายสังคมออนไลน์ในช่วงเวลาหัวค้า (19.01 - 21.00 น.) และมีระยะเวลาการใช้บริการเครือข่ายสังคมออนไลน์เฉลี่ย 1- 3 ชั่วโมงต่อวัน มีการใช้บริการ เครือข่ายสังคมออนไลน์มากกว่า 1 ครั้งต่อวัน ทั้งนี้ จะมีการเปิดเผยข้อมูลส่วนตัวเป็นบางส่วน คิดเป็นร้อยละ 54.75 และมีความคิดเห็นว่าการใช้บริการเครือข่ายสังคมออนไลน์สามารถใช้ชีวิตไต้อย่างปกติ การใช้บริการไม่มี ผลกระทบใดๆ แต่อาจมีความเลี่ยงในการถูกละเมิดสิทธิส่วนบุคคลได้คิดเป็นร้อยละ 51.50 (3) ปัจจัยส่วนบุคคล ด้านเพศ อายุ อาชีพ ระดับการศึกษา และรายได้มีความสัมพันธ์คับพฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ของ ผู้ใช้บริการในอำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectเครือข่ายสังคมออนไลน์--การศึกษาการใช้th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleพฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ของผู้ใช้บริการในอำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรีth_TH
dc.title.alternativeOnline social networks usage behavior of clients in Pakkret Nonthaburi Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to study (1) the personal factors of Online Social Networks users in Pakkret, Nonthaburi. (2) the behavior of Online Social Networks users in Pakkret, Nonthaburi. (3) therelationship between the personal factors and the behavior of Online Social Networks users in Pakkret, Nonthaburi. The population was Online Social Networks clients in Pakket district, Nonthaburi province. The questionnaire was constructed for collecting 400 data of convenience samplings from department store and community in Pakkret district area. The statistics of Frequency, Percentage, and Chi-square Test were analyzed by SPSS Program at the significance level of 0.05. The results of the study were as follows: (1) Almost of Online Social Networks clients were female who were among 25 – 34 years. They were single and finished bachelor degree, and most of them were employees with had monthly income average at 10,001 – 20,000 baht. (2) In the part of the behavior of Online Social Networks clients, it found that Facebook is the most often used of the online social networks, and the most popular activity is chatting and with their friends and family by chatting program. Most of them made decision about using the online social networks by themselves, and use online social networks via Smartphone while at home. They usually use online social networks around the time at 7 p.m. – 9 p.m. and the duration of using is average at 1-3 hours per day, and also they use online social networks more than one time per day. The sample group share their opinions that they were sharing some of their personal information in the online social networks, and they can live normally without any impact by using the online social networks but it may be at risk of being violated privacy rights. (3) the personal factors including sex, ages, occupation, education, and income were associated with the behavior of Online Social Networks clients in Pakkret, Nonthaburi province which was statistically significant at 0.05 level.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
138460.pdfเอกสารฉบับเต็ม8.93 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons