Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9546
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เชาว์ โรจนแสง | th_TH |
dc.contributor.author | ทวี อ่ำสุริยา, 2492- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-09-15T04:07:50Z | - |
dc.date.available | 2023-09-15T04:07:50Z | - |
dc.date.issued | 2546 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9546 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิธีการสรรหา และคัดเลือก วิศวกรที่ปรึกษา กรณีศึกษาบริษัทวิศวกรที่ปรึกษา และเพื่อศึกษาปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นใน กระบวนการดังกล่าว โดยทำการส่งแบบสำรวจไปยังกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้ประกอบการในเขตพื้นที่ กรุงเทพมหานคร และปริมณฑล และเป็นสมาชิกสมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย จำนวน กลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 45 บริษัท ข้อมูลต่างๆ ได้มาจากการใช้แบบสำรวจ การสรรหาและคัดเลือก วิศวกรที่ปรึกษาซึ่งจะสอบถามเกี่ยวกับวิธีการที่ใช้ ปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้น ตลอดจนข้อเสนอแนะใน การดำเนินการสรรหา และคัดเลือกวิศวกรที่ปรึกษา การวิเคราะห์ข้อมูลโดยการใช้โปรแกรม สำเร็จรูป SPSSP เพื่อหาค่าความถี่ และค่าร้อยละผลการศึกษาการสรรหา และการคัดเลือกวิศวกรที่ปรึกษาของผู้ประกอบการธุรกิจพบว่า 1. ผู้ประกอบการธุรกิจวิศวกรที่ปรึกษาส่วนใหญ่ไม่มีฝ่ายบริหารทรัพยากรมนุษย์ โดยตรง ทำหน้าที่ในการสรรหา และคัดเลือกวิศวกรที่ปรึกษา 2.วิธีการสรรหาวิศวกรที่ปรึกษาจากภายนอกองค์การเป็นวิธีการที่ผู้ประกอบการ ธุรกิจส่วนใหญ่นิยมใช้กัน วิธีการสรรหาจากภายนอกองค์การนี้การสรรหาจากการที่พนักงานของ บริษัทแนะนำมาให้มีการใช้ริธีนี้มากที่สุด 3.วิธีการคัดเลือกบุคลากรนั้น การสัมภาษณ์เพื่อการจ้างงานเป็นวิธีการที่ ผู้ประกอบการธุรกิจวิศวกรที่ปรึกษาใช้กันมากที่สุด4.ปัญหาที่เกี่ยวกับการสรรหา และคัดเลือกวิศวกรที่ปรึกษาของบริษัทวิศวกรที่ ปรึกษาที่พบมากที่สุด ได้แก่ บริษัทไม่มีนโยบายชัดเจนเกี่ยวกับการสรรหา และคัดเลือกบุคลากร5.ข้อเสนอแนะต่อผู้ที่เกี่ยวข้องกับการสรรหา และคัดเลือกวิศวกรที่ปรึกษาส่วนใหญ่ ได้ให้ข้อเสนอแนะไว้ดังนี้ในการสรรหาและคัดเลือกวิศวกร ควรจะต้องยึดหลัก ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ตรงกับตำแหน่งที่ว่าง และเป็นคนดีเป็นสำคัญ ส่วนวุฒิการศึกษาควรให้ความสำคัญเป็นอันดับรอง | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจ | th_TH |
dc.subject | วิศวกรที่ปรึกษา--การคัดเลือกและสรรหา | th_TH |
dc.title | กลยุทธ์การสรรหา และคัดเลือกวิศวกรที่ปรึกษา กรณีศึกษาบริษัทวิศวกรที่ปรึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล | th_TH |
dc.title.alternative | Recruitment and selection strategies of consultant engineer a case study for engineering consultant companies in Bangkok metropolitan and suburbs area | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
Appears in Collections: | Manage-Independent study |
This item is licensed under a Creative Commons License