Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9591
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภาวิน ชินะโชติ, อาจารย์ที่ปรึกษาen_US
dc.contributor.authorเมธาวี ศรีดารา, 2534-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-09-18T03:46:30Z-
dc.date.available2023-09-18T03:46:30Z-
dc.date.issued2558en_US
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9591en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับการเตรียมความพร้อมก่อนเข้าสู่วัยเกษียณอายุราชการของข้าราชการครูประจำโรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดราชบุรี และ (2) เปรียบเทียบการเตรียมความพร้อมก่อนเข้าสู่วัยเกษียณอายุราชการของข้ราชการครูประจำโรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดราชบุรี จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรคือ ข้าราชการครูประจำโรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดราชบุรี จำนวนทั้งสิ้น 310 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นแล้วกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างในแต่ละโรงเรียนจำนวน 175 คน ซึ่งคำนวณจากสูตรของทาโร่ ยาโมเน่ เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับการเตรียมความพร้อมก่อนเข้าสู่วัยเกษียณอายุราชการของข้าราชการครูประจำโรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดราชบุรี โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลางเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน โดยเรียงจากค่าเฉลี่ยมากไปหาน้อย พบว่า ด้านสุขภาพร่างกายและจิตใจด้านการเงินอยู่ในระดับสูง และด้านการใช้เวลา ด้านที่อยู่อาศั อยู่ในระดับปานกลาง และ(2) เปรียบเทียบการเตรียมความพร้อมก่อนเข้าสู่วัยเกษียฌอายุราชการ จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลที่มีเพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา ตำแหน่ง อายุราชการ โรคประจำตัว รายได้ต่อเดือน หนี้สินทั้งหมด และการรับรู้ข่าวสารโดยรวม แตกต่างกัน มีการเตรียมความพร้อมก่อนเข้าสู่วัยเกษียณอายุราชการที่ไม่แตกต่างกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformated digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectข้าราชการครู--การเกษียณอายุth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleการเตรียมความพร้อมก่อนเข้าสู่วัยเกษียณอายุราชการของข้าราชการครูประจำโรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดราชบุรีth_TH
dc.title.alternativePreretirement preparation for teacher of secondary schools in Ratchaburi Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study aimed: (1) to study the degree of preretirement preparation for teacher of secondary schools in Ratchaburi province; and (2) to compare the preretirement preparation for teacher of secondary schools in Ratchaburi province with personal factors. This study was a survey research. The population was 310 professional teacher of secondary schools in Ratchaburi province.Stratified random sampling was determined the sample size in each school of 175 officials by calculated with Taro Yamane's formula. The questionnaire was used as the research tool. Data analysis included frequencies, percentage, mean, standard deviation, t-test and one-way analysis of variance. The research indicated that: (1) preretirement preparation for teacher of secondary schools in Ratchaburi province in all aspects were middle level. So when considered each types, arranged average from high to low, were found that preretirement preparation of physical and mental health, and financial were at high level but preretirement preparation of use of leisure time, and accommodation were at middle level. (2) By comparing the preretirement preparation for teacher of secondary schools in Ratchaburi province based on the personal factors with different gender, age, married status, education, job’s position, working duration, congenital disease, monthly income, debt, and perception information of preretirement preparation in all aspects have not an impact of different of preretirement preparationen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_150963.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.72 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons