Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9690
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทวีวัฒน์ วัฒนกุลเจริญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorธนรดา ภูมิรพีภร, 2538-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-09-22T04:02:09Z-
dc.date.available2023-09-22T04:02:09Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9690-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารประกอบกิจกรรมการฝึกวิชาทหารของนักศึกษาวิชาทหารหญิงชั้นปีที่ 4 โรงเรียนรักษาดินแดน ศูนย์การนักศึกษาวิชาทหาร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักศึกษาวิชาทหารหญิงชั้นปีที่ 4 โรงเรียนรักษาดินแดน ศูนย์การนักศึกษาวิชาทหาร ปีการศึกษา 2563 ซึ่งได้มาจากการสุ่มอย่างง่าย ตามตารางสำเร็จรูปของ ทาโร ยามาเน่ (Taro Yamane) ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% จำนวน 333 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารประกอบกิจกรรมการฝึก วิชาทหาร สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยปรากฏว่า การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารประกอบกิจกรรมการฝึกวิชาทหาร ของนักศึกษาวิชาทหารหญิงชั้นปีที่ 4 โรงเรียนรักษาดินแดน ศูนย์การนักศึกษาวิชาทหาร โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า (1) ด้านรูปแบบการใช้ไอซีที เพื่อประกอบการจัดกิจกรรมการฝึกวิชาทหารของครูฝึกนักศึกษาวิชาทหารอยู่ในระดับมาก โดยครูมีการจัดทำเอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการฝึกวิชาทหารในรูปแบบไฟล์เอกสารอยู่ในระดับมาก (2) ด้านการใช้อุปกรณ์ และ สิ่งสนับสนุนกิจกรรมการฝึกวิชาทหารอยู่ในระดับมาก โดยนักศึกษาวิชาทหารหญิง ส่วนใหญ่มีอุปกรณ์สมาร์ตโฟนที่สามารถเชื่อมต่อเครือข่ายอินเทอร์เน็ตอยู่ในระดับมาก (3) ด้านทักษะการใช้งานไอซีทีของนักศึกษาวิชาทหารหญิง อยู่ในระดับมาก โดยส่วนใหญ่ได้รับคำแนะนำและความช่วยเหลือจากครูฝึกผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้อย่างสะดวก และรวดเร็ว และ (4) ด้านเจตคติต่อการใช้ไอซีทีประกอบกิจกรรมการฝึก วิชาทหารอยู่ในระดับมาก โดยมีเจตคติที่ดีต่อการใช้ไอซีทีประกอบกิจกรรมการฝึกอยู่ในระดับมากth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectคอมพิวเตอร์ช่วยการสอนth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาth_TH
dc.titleการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารประกอบกิจกรรมการฝึกวิชาทหาร ของนักศึกษาวิชาทหารหญิงชั้นปีที่ 4 โรงเรียนรักษาดินแดน ศูนย์การนักศึกษาวิชาทหารth_TH
dc.title.alternativeThe using of information technology of military training activities for fourth-year female territorial defense students in Territorial Defense School, Army Reserve Training Centeren_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research was to study the using of information and communication technology of military training activities for fourth-year female territorial defense students in Territerial Defense School, Army Reserve Training Center. The research sample consisted of 333 randomly selected fourth-year female territorial defense students in Territorial Defense School, Army Reserve Training Center during the 2020 academic year. The sample size was determined based on Taro Yamane’s Sample Size Table at the 95 % confidential interval. The employed research instrument was a questionnaire on the using of information and communication technology of military training activities. Statistics employed for data analysis were the percentage, mean, and standard deviation. Research findings showed that the overall using of information and communication technology of military training activities for fourth-year female tentorial defense students in Territerial Defense School, Army Reserve Training Center was at the high level. When specific aspects of the use were considered, it was found that (1) the aspect of the model of using information and communication technology of military training activities was at the high level, with the item on the teachers creating the documents for organizing military training activities being rated at the high level; (2) the aspect of using aids and supporting equipment for military training activities was at the high level, with the item on the majority of female tentorial defense students having smart phone equipment that could be connected to the Internet network being rated at the high level; (3) the aspect of information and communication technology skills of female tentorial defenseen_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
166482.pdf16.22 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons