Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9706
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นพดล อุดมวิศวกุล | th_TH |
dc.contributor.author | ชโลธร อุตรพาท | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-09-25T02:30:36Z | - |
dc.date.available | 2023-09-25T02:30:36Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9706 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรสำนักงานอัยการในเขตจังหวัดสมุทรสงครามและจังหวัดสมุทรสาคร (2) ศึกษาระดับผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของบุคลากร สำนักงานอัยการในเขตจังหวัดสมุทรสงครามและจังหวัดสมุทรสาคร (3) เปรียบเทียบระดับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรสำนักงานอัยการในเขตจังหวัดสมุทรสงครามและจังหวัดสมุทรสาครตามจังหวัดที่ตั้งสำนักงาน (4)เปรียบเทียบระดับผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของบุคลากรสำนักงานอัยการในเขตจังหวัดสมุทรสงครามและจังหวัดสมุทรสาครตามจังหวัดที่ตั้งสำนักงาน และ (5) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจและผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของบุคลากรสำนักงานอัยการในเขตจังหวัดสมุทรสงครามและจังหวัดสมุทรสาคร การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพ ประชากรที่ใช้ในการวิจัยเชิงปริมาณคือ บุคลากรสำนักงานอัยการในเขตจังหวัดสมุทรสงครามและจังหวัดสมุทรสาคร จำนวน 109 คน กำหนดกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้สูตรของทาโร่ยามาเน่ได้กลุ่มตัวอย่าง 86 คน และใช้การสุ่มตัวอย่างแบบ สัดส่วน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือแบบสอบถาม ซึ่งมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.980 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์การทดสอบค่าที และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ส่วนประชากรที่ใช้ในการวิจัยเชิงคุณภาพคือผู้บริหารระดับสูงของสำนักงานอัยการในเขตจังหวัดสมุทรสงครามและจังหวัดสมุทรสาคร จำนวน 4 คน โดย ใช้การเลือกแบบเจาะจงเครื่องมือที่ใช้คือแบบสัมภาษณ์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนาจากความคิดเห็นจากการสัมภาษณ์ ผลการศึกษาพบว่า (1) ในภาพรวมแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรสำนักงานอัยการในเขต จังหวัดสมุทรสงครามและจังหวัดสมุทรสาครอยู่ในระดับมาก ( 2) ในภาพรวมผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของบุคลากร สำนักงานอัยการในเขตจังหวัดสมุทรสงครามและจังหวัดสมุทรสาครอยู่ในระดับมาก (3) ผลการเปรียบเทียบระดับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรสำนักงานอัยการในเขตจังหวัดสมุทรสงครามและจังหวัดสมุทรสาครตามจังหวัดที่ตั้งสำนักงานพบว่า โดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน (4) ผลการเปรียบเทียบระดับผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของ บุคลากรสำนักงานอัยการในเขตจังหวัดสมุทรสงครามและจังหวัดสมุทรสาครตามจังหวัดที่ตั้งสำนักงานพบว่าโดยรวมแตกต่างกัน เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการไม่แตกต่างกันและ (5)ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจและผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของบุคลากรสำนักงานอัยการในเขตจังหวัดสมุทรสงครามและจังหวัดสมุทรสาครโดยรวมพบว่าแรงจูงใจมีความสัมพันธ์ทางบวกกับผลผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงาน เมื่อพิจารณารายด้านแรงจูงใจพบว่า ด้านค่าตอบแทนและผลประโยชน์เกื้อกูลมีความสัมพันธ์ทางบวกมากกว่าทุกด้าน รองลงมาคือ ด้านความก้าวหน้าในตำแหน่งหน้าที่ และด้านความรับผิดชอบ ตามลำดับ ส่วนแรงจูงใจด้านอื่นๆไม่มีความสัมพันธ์กับผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงาน นั้นคือ หากระดับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานอยู่ในระดับสูงย่อมส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานอยู่ในระดับสูงตามไปด้วย | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | สำนักงานอัยการจังหวัดสมุทรสงคราม--พนักงาน--ความพอใจในการทำงาน | th_TH |
dc.subject | สำนักงานอัยการจังหวัดสมุทรสาคร--พนักงาน--ความพอใจในการทำงาน | th_TH |
dc.subject | แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ | th_TH |
dc.title | ความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจและผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของบุคลากรสำนักงานอัยการในเขตจังหวัดสมุทรสงครามและจังหวัดสมุทรสาคร | th_TH |
dc.title.alternative | Relationship between work motivation and achievement of the personnel in the office of the Attorney General in Samut Songkhram Province and Samut Sakhon Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study were: (1) to study level of work motivation of personnel of the Office of the Attorney General in Samut Songkhram Province and Samut Sakhon Province; (2) to study level of performance achievement of personnel of the Office of the Attorney General in Samut Songkhram Province and Samut Sakhon Province; (3) to compare work motivation of personnel of the Office of the Attorney General in Samut Songkhram Province and Samut Sakhon Province; (4) to compare work achievement of personnel of the Office of the Attorney General in Samut Songkhram Province and Samut Sakhon Province; and (5) to study the relationship between work motivation and work achievement of personnel of the Office of the Attorney General in Samut Songkhram Province and Samut Sakhon Province. This study was a mixed both quantitative and qualitative research. Population was 109 personnel of the Office of the Attorney General in Samut Songkhram Province and Samut Sakhon Province. Sample size was determined via Taro Yamane’s calculation formula and received 86samples. Sampling used stratified random sampling method. The questionnaire was used as a research tool. Level of reliability was 0.980. Statistics applied in data analysis was percentage, mean, standard deviation and t-Test, Pearson’s Correlation Coefficient. Samples for qualitative study were 4 executive attorneys of the Office of the Attorney General in Samut Songkhram Province and Samut Sakhon Province. Sampling used purposive sampling method. The interview form was used as research tool. Data analysis was in descriptive method collecting from in-depth interviewing. The results were: (1) an overview image of level of work motivation of personnel of the Office of the Attorney General in Samut Songkhram Province and Samut Sakhon Province was at high level; (2) an overview image of level of performance achievement of personnel of the Office of the Attorney General in Samut Songkhram Province and Samut Sakhon Province was at high level; (3) there was no difference for both overview image and each aspect in comparing work motivation level of personnel of the Office of the Attorney General in Samut Songkhram Province and Samut Sakhon Province; (4) an overview image of the comparison between work achievement of personnel of the Office of the Attorney General in Samut Songkhram Province and Samut Sakhon Province, it was found that there was no difference. Considering by each aspect, Dimension 1 there was no difference in implementation effectiveness; and (5) an overview image of the relationship between work motivation and work achievement of personnel of the Office of the Attorney General in Samut Songkhram Province and Samut Sakhon Province, it was found positive relationship. Considering by each aspect, the motivation in compensation and benefits aspect had more positive relationship than other aspects, followed by the position advancement and responsibility respectively. Other aspects had no positive relationship to work achievement. It was concluded that the higher work motivation affected the higher work achievement. | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
146920.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 19.1 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License