Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9719
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจีราภรณ์ สุธัมมสภา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorธัญลักษณ์ ครรชิตานุรักษ์, 2512--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-09-25T03:40:11Z-
dc.date.available2023-09-25T03:40:11Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9719-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ลำดับการใช้ระบบบริการสารสนเทศ มสธ. เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่หน่วยเลขานุการกิจ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (2) เปรียบเทียบการรับรู้ความง่าย ประโยชน์ที่ได้รับ และปัญหาจากการใช้ระบบบริการสารสนเทศของ เจ้าหน้าที่หน่วยเลขานุการกิจ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จำแนกตามอายุ ระดับการศึกษา ตำแหน่งงาน และระยะเวลาการปฏิบัติงาน ประชากรที่ศึกษา เป็นเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานประจำหน่วยเลขานุการกิจ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชซึ่งเป็นผู้ใช้งานระบบบริการสารสนเทศมสธ.โดยตรง จาก 12สาขาวิชา จำนวน 96 คน คำนวณขนาดตัวอย่างตามสูตรของยามาเน่ ที่ความเชื่อมั่นร้อยละ 95 ได้ขนาดตัวอย่าง จำนวน 77 คน สุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วย สถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติที่อิสระ และการทดสอบความแปรปรวนทางเดียว ผลการวิจัยพบว่า (1) ระบบบริการสารสนเทศ 5 อันดับแรก ที่กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ใช้งาน ได้แก่ ระบบสารสนเทศหน่วยงาน ระบบ E-Office ระบบการให้บริการ Download แบบฟอร์ม ระบบการให้บริการรายงานการประชุม/สรุปผลการประชุม และ ระบบการลาอิเล็กทรอนิกส์ และระบบที่มีการเข้าใช้งานระบบน้อยที่สุด ได้แก่ ระบบสารสนเทศนักศึกษา ระบบ STOU MAIL ระบบ OET -WEBCASTING กลุ่มตัวอย่างมีการรับรู้ความง่ายในการใช้งาน และการรับรู้ประโยชน์จากการใช้ระบบ บริการสารสนเทศ มสธ.โดยรวมในระดับมาก ในขณะที่มีปัญหาจากการใช้ระบบบริการสารสนเทศ มสธ. โดยรวมในระดับปานกลาง (2) กลุ่มตัวอย่างที่มีอายุ ระดับการศึกษา ตำแหน่งงาน ระยะเวลาการ ปฏิบัติงาน แตกต่างกัน มีการรับรู้ความง่ายในการใช้งาน การรับรู้ประโยชน์และมีปัญหาจากการใช้ระบบ บริการสารสนเทศ มสธ.โดยรวมไม่แตกต่างกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช--ข้าราชการและพนักงาน--วิจัยth_TH
dc.subjectระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการth_TH
dc.titleการใช้ระบบบริการสารสนเทศมสธ.เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่หน่วยเลขานุการกิจ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.title.alternativeThe use of STOU E-Service information systems to support the operations of secretarial unit personnel Sukhothai Thammathirat Open Universityen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were: (1) to explore the sequence of use STOU E-Service information systems supporting the operations of the secretarial unit personnel, Sukhothai Thammathirat Open University. (2) To compare the perceived ease of use, perceived benefits, problems of the secretarial unit personnel who were among age, educational level positions and work experience. The population was the 96 secretarial unit personnel who directly use the STOU E-Service information systems from 12 schools of STOU. The 77 sample was calculated by Yamane’s formula at 95% confidence interval and sampling from the random stratified. The instrument, developed by the researcher, was the questionnaire. Data were analyzed using percentage, mean, standard deviation, independent t-test and one-way ANOVA. The results revealed that: (1) the top five used, ranked by the sample, were the E-department system, E-Office system, E-form system, the farewell system, and meeting report / summary report system. In contrast, the fewest three used, ranked by the sample, were the student information system, OET WEBCASTING, and STOU MAIL. The sample rated their perceived ease of use, perceived benefits at high level, and perceived problems was rated at the moderate level. (2) There were no statistically significant difference of the perceived ease of use, perceived benefits, and problems of the secretarial unit personnel who were differences among age, educational level positions and work experienceen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
130337.pdfเอกสารฉบับเต็ม16.55 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons