Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/971
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธโสธร ตู้ทองคำth_TH
dc.contributor.authorเฉลิมชัย อินทรกำแหง, 2511-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา.th_TH
dc.date.accessioned2022-08-23T08:31:10Z-
dc.date.available2022-08-23T08:31:10Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/971-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม. (การเมืองการปกครอง))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนึ้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความเป็นไปได้ในการใช้สิทธิทางการเมืองในการเลือกตั้งของผู้ต้องขัง (2) ศึกษาแนวทางและวิธีการในการใช้สิทธิทางการเมืองในการเลือกตั้งของผู้ต้องขัง (3) ศึกษาผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในการใช้สิทธิทางการเมืองในการเลือกตั้งของผู้ต้องขัง และ (4) เสนอแนะแนวทางในการใช้สิทธิทางการเมืองในการเลือกตั้งของผู้ต้องขัง การวิจัยครั้งนี้เป็นการใช้วิธีวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้บัญชาการเรือนจำฯ/ผู้อำนวยการฯ จำนวน 10 คน และเจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์ จำนวน 450 คน ครอบคลุมพื้นที่เรือนจำและทัณ,ทสถานของกรมราชทัณฑ์ทั่วประเทศ 9 เขต เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล คือ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ การหาค่าความถี่ค่าร้อยละ และ การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพเป็นการวิเคราะห์เนื้อหา ผกการวิจัยพบว่า (1) ผู้ต้องขังควรจะรับโอกาสการใช้สิทธิทางการเมืองในการเลือกตั้ง (2) แนวทางและวิธีการ ในการใช้สิทธิทางการเมืองในการเลือกตั้งของผู้ต้องขัง ควรให้คณะกรรมการการเลือกตั้งเป็นผู้ดำเนินการและใช้วิธีการเลือกตั้งเช่นเดียวกับการเลือกตั้งทั่วใป (3) ผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในการใช้สิทธิทางการเมืองในการเลือกตั้งของผู้ต้องขัง ทำให้ผู้ต้องขังมีโอกาสกลับตนเป็นพลเมืองดีภายหลังพ้นโทษ มีความรู้สึกไม่ถูกตัดออกจากสังคม และมีส่วนร่วมทางการเมืองในฐานะประชาชนคนไทย (4) ข้อเสนอแนะแนวทางในการใช้สิทธิทางการเมืองในการเลือกตั้งของผู้ต้องขัง คือ จะต้องมีการพิจารพาแก้ไขรัฐธรรมมูญและกฎหมายเลือกตั้งth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.262en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformatted digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectนักโทษ -- ไทยth_TH
dc.subjectสิทธิทางการเมืองth_TH
dc.titleสิทธิในการเลือกตั้งของผู้ต้องขังในทัศนะของเจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์th_TH
dc.title.alternativePrisoner's electoral rights in the opinions of the Department of Correction's Officersen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2007.262en_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to: (1) study the possibility of prisoners’ exercise of their electoral rights (2) study the methods and processes by which prisoners could exercise their electoral rights: (3) predict the probable results of prisoners exercising their electoral rights (4) give recommendations on how prisoners may exercise their electoral rights Both qualitative and quantitative methods were used for this research. The sample consisted of 10 commandcrs/directors and 450 operation-level officers from correctional institutions in all of the Department of Correction’s 9 zones. Data were collected by using questionnaires and interview forms. Data were analyzed by using frequency analysis and percentage. The results were as follows: (1) Prisoners should be given the opportunity to exercise their electoral rights (2) The Election Commission of Thailand should be in charge of setting the methods and processes by which prisoners can exercise their electoral rights and they should be the same as for general elections. (3) The probable results of letting prisoners exercise their electoral rights arc that the prisoners could be rehabilitated to be good citizens, would not feel isolated from society and could participate in politics as Thai citizens. (4) The researcher’s recommendation is that the constitution and electoral laws should be amended to allow prisoners to exercise their electoral rightsen_US
dc.contributor.coadvisorสุจิตรา หังสพฤกษ์th_TH
Appears in Collections:Pol-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib105530.pdfเอกสารฉบับเต็ม7.58 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons