Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9739
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พรทิพย์ อุดมสิน, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | รุจ ศิริสัญลักษณ์, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | ฐากูร ศิรพจนกุล, 2496- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-09-25T07:55:49Z | - |
dc.date.available | 2023-09-25T07:55:49Z | - |
dc.date.issued | 2544 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9739 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2544 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัต56ประสงค์เพื่อศึกษาเกษตรกรผู้ปลูกถั่วลิสงในเขตโครงการส่งนำและบำรุงรักษา ห้วยหลวง อำเภอกุดจับ จังหวัดอุดรธานี ในเรื่องต่อไปนี้ (1) สภาพทางสังคมและเศรษฐกิจ (2) สภาพการผลิต ถั่วลิสงฤดูแล้งปี 2543/44 (3) ความรู้ในการผลิตถั่วลิสงฤดูแล้ง (4) ความต้องการฝึกอบรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตถั่วลิสงฤดูแล้ง ผลการวิจัยพบว่า (1) สภาพทางสังคมและเศรษฐกิจ เกษตรกรส่วนมากเป็นหญิง อายุเฉลี่ย 43 ปี จบการศึกษาสูงสุด ป. 4 มีแรงงานเฉลี่ยในครอบครัว 3 คน เงินทุนส่วนใหญ่เป็นของเกษตรกรและมีรายได้เพียง เล็กน้อยจากการผลิตถั่วลิสง (2) สภาพการผลิตถั่วลิสงฤลูแล้ง ปื2543/44 พบว่าเกษตรกรปฏิบัติในเรื่องการ คลุกเมล็ดพันธุด้วยสารเคมีและเชื้อไรโซเบียม มีการใช้สารเคมีคุมกำเนิดวัชพืช ใช้ปุ๋ยเคมีสูตร 15-15-15 เก็บ เกี่ยวตามอายุ โดยใช้กระสอบป่านบรรจุเมล็ด และเกษตรกรไม่ปฏิบัติในเรื่องต่อไปนี้ การคัดพันธุ์ปนการทดสอบความงอก การใช้ปูนขาวปรับคุณสมบัติของดินให้เหมาะสม การปลูกซ่อม การใส่ปุ๋ยครั้งที่ 2 การพูนโคนต้น การคัดแยกฝักดีและฝักเสียออกจากกันขณะปลิดฝัก (3) ความรู้ในการผลิตถั่วลิสงฤดูแล้ง เกษตรกรมี ความรู้ในเรื่อง การคัดพันธุ์ปน การทดสอบความงอก การใช้เชื้อไรโซเบียม การใช้ปุนขาว การปลูกซ่อม การพูนโคนต้น การใส่ปุ๋ยครั้งที่2 การกำหนดอายุการเก็บเกี่ยว การตากและการเก็บรักษา ส่วนเรื่องที่ เกษตรกรไม่รู้ คือ การใช้สารเคมีคลุกเมล็ดพันธุ์และการใช้สารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืช (4) ความต้องการฝึกอบรม พบว่าเกษตรกรเกือบทั้งหมดมีความต้องการปีกอบรม ถึงแม้ว่าบางเรื่องเกษตรกรจะมีความรู้อยู่แล้ว แต่ก็ยัง มีความต้องการฝึกอบรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตถั่วลิสงฤลูแล้ง เกี่ยวกับสภาพแวดล้อม พันธุ์และการ เตรียมพันธุ์ การปลูก การดูแลรักษา การเก็บเกี่ยวและวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว และเกษตรกรต้องการฝึกอบรมในหมู่บ้าน 1-3 วัน ในรูปแบบการบรรยายความรู้ใช้วีดิโอ และต้องการวิทยากรที่เป็นนักวิชาการของทางราชการ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | ถั่วลิสง--การผลิต | th_TH |
dc.subject | เกษตรกร--การฝึกอบรม | th_TH |
dc.title | ความต้องการฝึกอบรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตถั่วลิสง ของเกษตรกร ในเขตโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาห้วยหลวง อำเภอกุดจับ จังหวัดอุดรธานี | th_TH |
dc.title.alternative | Trainging needs of farmers for increasing the groundnut production efficiency in the Huayluang Operation and Maintenance Irrigation Project, Kubjub District, Udonthani Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | เกษตรศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
Appears in Collections: | Agri-Theses |
This item is licensed under a Creative Commons License