Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9741
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จินดา ขลิบทอง, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | บำเพ็ญ เขียวหวาน, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | วัชระ เนตรพิชิต, 2493- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-09-25T08:12:10Z | - |
dc.date.available | 2023-09-25T08:12:10Z | - |
dc.date.issued | 2544 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9741 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2544 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสภาพแวดล้อมทั่วไปของโครงการ (2) ศึกษากระบวนการบริหารงานโครงการ (3) ศึกษาผลและประสิทธิผลการดำเนินงานโครงการ (4) ศึกษาปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะในการดำเนินงานโครงการ ผลการวิจัย พบว่า (1) สภาพแวดล้อมทั่วไปของโครงการ มีสภาพที่แตกต่างกันไป ตามสภาพของแต่ละหมู่บ้าน เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ ส่วนใหญ่เป็นชาย อายุเฉลี่ย 48.6 ปี มี สภาพสมรสแล้ว การศึกษาจบขึ้นประถมศึกษาปืที่ 4 อาชีพหลักส่วนใหญ่ทำการเกษตรมีพื้นที่เฉลี่ย 29.4 ไร่ แหล่งรายได้หลักมาจากการทำนา จำนวนสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 4.9 คนเป็นชายเฉลี่ย 2.4 คน หญิงเฉลี่ย 2.6 คน แรงงานการเกษตรเฉลี่ย 3.2 คน ส่วนใหญ่จะไม่มีการจ้างแรงงาน (2) ความคิดเห็นต่อกระบวนการบริหารโครงการของคณะทำงาน พบว่า การวางแผน การจัดองค์กร การจัดบุคลากร การอำนวยการ มีความเหมาะสมค่อนข้างมาก ส่วนการประสานงาน การรายงาน การงบประมาณ มีความเหมาะสมปานกลาง (3) ผลการดำเนินงาน การให้ชุมชนมีส่วนร่วม การพัฒนางานวิจัยมีค่อนข้างมาก ส่วนการถ่ายทอดเทคโนโลยี การใช้ประโยชน์จากเอกสารคำแนะนำ การฝึกอบรมอยู่ในระดับปานกลาง การนำความรู้ไปถ่ายทอดให้เกษตรกรอื่น และการมี ส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นมีค่อนข้างน้อย สำหรับประสิทธิผล ปรากฎว่าเกษตรกรมีรายได้ เพิ่มขึ้น การแก้ไขปัญหาให้กับเกษตรกรแก้ได้ค่อนข้างน้อย ความพึงพอใจในด้านผลผลิตค่อนข้าง มากด้านรายได้มีปานกลาง เกษตรกรส่วนใหญ่ยอมรับเทคโนโลยี (4) ปัญหาอุปสรรคคณะทำงาน มีปัญหาในการบริหาร การกัดเลือกพื้นที่ ส่วนเกษตรกรมีปัญหาในด้านเงินทุน และแรงงาน สำหรับข้อเสนอแนะของคณะทำงานและเกษตรกรต้องการให้มีการแก้ไขปัญหาการบริหาร การดัด เลือกพื้นที่ และเงินทุน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | โครงการหมู่บ้านวิชาการเกษตร--การประเมิน | th_TH |
dc.subject | โครงการ--การประเมิน | th_TH |
dc.title | การประเมินผลโครงการหมู่บ้านวิชาการเกษตร ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน | th_TH |
dc.title.alternative | Evaluation of the agricultural research and development village projects in upper Northeastern Region | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | เกษตรศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
Appears in Collections: | Agri-Theses |
This item is licensed under a Creative Commons License