Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9752
Title: | การประเมินผลการดำเนินงานโครงการปรับโครงสร้างและระบบการผลิตการเกษตร : ศึกษาเฉพาะกรณีเกษตรกรลูกค้า ธ.ก.ส. อำเภอจัตุรัส จังหวัดชัยภูมิ |
Other Titles: | Performance evaluation of the agricultural restructuring plan : a case study of BAAC's clients in Chatturat district, Chaiyaphum province |
Authors: | พรทิพย์ อุดมสิน, อาจารย์ที่ปรึกษา เบญจมาศ อยู่ประเสริฐ, อาจารย์ที่ปรึกษา จิระศักดิ์ สานิเทศ, 2510- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา |
Keywords: | โครงการปรับโครงสร้างและระบบการผลิตการเกษตร--การประเมิน มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร --วิทยานิพนธ์ เกษตรกร--ไทย--ชัยภูมิ |
Issue Date: | 2546 |
Publisher: | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช |
Abstract: | การวิจัยครั้งนี้มีว้ตลุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสภาพทาสังคมและเศรษฐกิจของเกษตรกรลูกค้า ธ.ก.ส. อำเภอจัตุรัส จังหวัดชัยภูมิ (2) ประเมินผลการดำเนินงานโครงการปรับโครงสร้างและระบบการผลิตการเกษตร ของเกษตรกรลูกค้า ธ.ก.ส. อำเภอจัตุรัส ชังหวัดชัยภูมิ (3) ศึกษาปัญหาและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการดำเนินงาน โครงการดังกล่าว ผลการวิจัยพบว่า เกษตรกรในโครงการมีอายูเฉลี่ย 52.9 ปี มีประสบการณ์ในการประกอบอาชีพ เกษตรเฉลี่ย 32.6 ปี พื้นที่ทำการเกษตรเฉลี่ย 37.4 ไร่ และจบการศึกษาชนประถมศึกษา พื้นที่ที่เข้าร่วมโครงการ เฉลี่ย7.1 ไร่ เกษตรกรสองในสามเข้าร่วมโครงการเพราะต้องการสินเชื่อคอกเบี้ยตํ่าและปัจจัยการผลิตส่วนใหญ่ ตัดสินใจเลือกกิจกรรมทดแทนจากการแนะนำของเข้าหน้าที่และเพื่อนบ้าน การออนุมัติสินเชื่อของสาขาทันกับ ฤดูกาลผลิตและเพียงพอกับการผลิต เกษตรกรส่วนใหญ่มั่นใจว่าจะชำระคืนเงินกู้ได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด ประโยชน์ที่เกษตรกรใต้รับจากการเข้าร่วมโครงการ คปร. คือ การอบรมให้ความรู้ตามกิจกรรมที่ผลิตในโครงการ และเงินสดไปจัดชื้อหรือจัดหาปัจจัยการผลิตตามโครงการมีมูลค่าเฉลี่ย 12,070.80 บาท เข้าหน้าที่ส่วนราชการ ที่เกี่ยวข้องรวมถึงพนักงาน ธ.ก.ส. มาวิเคราะห์ความเหมาะสมของพื้นที่ค่อนการผลิต และติดตามตรวจเยี่ยม ให้คำแนะนำหลังการผลิต กิจกรรมทดแทนทำให้เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น และเป็นแหล่งที่มาของรายได้ในพื้นที่ ปรับโครงสร้างการผลิตในปัจจุบัน ปัญหาที่สำคัญของการดำเนินงานโครงการ คปร. คือ ภัยธรรมชาติ และราคา ผลผลิตตกตํ่า เกษตรกรจึงเสนอให้มีการประกันภัยพืชผลทางการเกษตร เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนของเกษตรกร ที่ได้รับความเสียหายจากภัยธรรมชาติ และแต้ไขปัญหาด้านราคาโดยการจำนำผลผลิต การประกันราคาผลผลิต และการจัดตั้งตลาดชื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า |
Description: | วิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546 |
URI: | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9752 |
Appears in Collections: | Agri-Theses |
This item is licensed under a Creative Commons License