Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9788
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเทพศักดิ์ บุณยรัตพันธุ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorธีรพงษ์ วงศ์ปัน-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-09-28T03:58:06Z-
dc.date.available2023-09-28T03:58:06Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9788-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ(1) ศึกษาระดับคุณภาพชีวิตการทํางานของบุคลากรสํานักงานสรรพสามิต จังหวัดชลบุรี (2) เปรียบเทียบคุณภาพชีวิตการทํางานของบุคลากรสํานักงานสรรพสามิตจังหวัดชลบุรี จําแนกตามปัจจัยส่วน บุคคล (3) ศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตการทํางานของบุคลากรสํานักงานสรรพสามิตจังหวัดชลบุรี (4) ศึกษา แนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตการทํางาน ของบุคลากรสํานักงานสรรพสามิตจังหวัดชลบุรี ประชากรที่ใช้ในการวิจัยได้แก่บุคลากรในสังกัดสํานักงานสรรพสามิตจังหวัดชลบุรีจํานวน ทั้งหมด 173 คน คํานวณกลุ่มตัวอย่าง จากประชากรทั้งหมด 121 คนโดยใช้สูตรทาโรยามา ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ มีแบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ค่าร้อย ละค่าความถี่ค่าเฉลี่ยค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว, ทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ค่า สหสัมพันธ์แบบ เพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า (1) บุคลากรในสังกัดสํานักงานสรรพสามิตจังหวัดชลบุรีมีคุณภาพชีวิตการทํางานตํ่ากว่า ร้อยละ 80 โดยมีคุณภาพชีวิตการทํางานโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง มีคะแนนเฉลี่ย รวมทุกด้านเท่ากับ 3.40 และมีอีก 7 ด้าน ที่อยู่ในระดับปานกลาง ได้แก่คุณภาพชีวิตด้านการประสบผลสําเร็จในองค์กรและได้รับการยอมรับ คุณภาพชีวิตด้านระเบียบ ข้อบังคับในการปฏิบัติงาน คุณภาพชีวิตด้านโอกาสในการพัฒนาความสามารถของบุคลากร คุณภาพชีวิตด้านความมั่นคง และความก้าวหน้าในงาน คุณภาพชีวิตด้านค่าตอบแทนที่เพียงพอและยุติธรรม คุณภาพชีวิตการทํางานด้านสภาพแวดล้อม การทํางานที่ปลอดภัยและส่งเสริมสุขภาพ คุณภาพชีวิตการทํางานด้านการมีส่วนร่วมในองค์กรตามลําดับจากมากไปหาน้อย และอยู่ใน ระดับมากมีอยู่ 4 ด้านได้แก่ คุณภาพชีวิตการทํางานด้านความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสังคม คุณภาพชีวิตการทํางาน ด้านความสมดุลระหวางชีวิตงานกับชีวิตด้านอื่น ๆ คุณภาพชีวิตการทํางานด้านผลประโยชน์เกื้อกูล คุณภาพชีวิตด้านเคารพ ในสิทธิ เสรีภาพของบุคลากรและมีความยุติธรรม ตามลําดับจากมากไปหาน้อย (2) การเปรียบเทียบปัจจัยส่วนบุคคลกับ คุณภาพชีวิตการทํางานของบุคลากรในสังกัดสํานักงานสรรพสามิตจังหวัดชลบุรี ที่มีปัจจัยส่วนบุคคลต่างกัน มีคุณภาพชีวิต การทํางานแตกต่างกัน (3) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านแรงจูงใจและปัจจัยด้านองค์กร ที่มีต่อคุณภาพชีวิตการทํางานของ บุคลากรในสังกัดสํานักงานสรรพสามิตจังหวัดชลบุรีพบว่าปัจจัยด้านแรงจูงใจมีความสัมพันธ์ในระดับที่น้อย โดยมีค่า ความสัมพันธ์ เท่ากับ 0.29 และปัจจัยด้านองค์กรมีความสัมพันธ์ในระดับ ปานกลางโดยมีค่าความสัมพันธ์ เท่ากับ 0.42 (4) แนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตการทํางานของบุคลากรในสังกัดสํานักงานสรรพสามิตจังหวัดชลบุรี พบว่าด้าน ค่าตอบแทนที่เพียงพอและยุติธรรมมีความคิดเห็นว่าควร ปรับปรุงมากที่สุดรองลงมาคือด้านโอกาสพัฒนาความสามารถของ บุคลากร ด้านความมั่นคงและความก้าวหน้าในงาน ด้านเคารพในสิทธิ เสรีภาพของบุคลากรและมีความยุติธรรม ด้าน สภาพแวดล้อมการทํางานที่ปลอดภัยและส่งเสริมสุขภาพ และด้านผลประโยชน์เกื้อกูลตามลําดับth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectคุณภาพชีวิตการทำงาน--ไทย--ชลบุรีth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตการทำงานของบุคลากรกรณีศึกษาสำนักงานสรรพสามิตจังหวัดชลบุรีth_TH
dc.title.alternativeFactors relating to the quality of working life of personnel : a case study of Chonburi Provincial Excise Officeth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to (1) study levels of personnel’s quality of working life of Chonburi Provincial Excise Office; (2) compare levels of personnel’s quality of working life classified by personal factors; (3) study factors relating to personnel’s quality of working life and (4) study approaches to improv the quality of working life. The population was the 173 personnel of Chonburi Provincial Excise Office. Samples were 121 personnel calculated from the calculation formula of Taro Yamane . Sampling used stratified random sampling method. Instruments were a questionnaire and a structured interview form. Analytical statistic employed percentage, frequency, mean, standard deviation, ANOVA, t test and Pearson’s correlated coefficients. The results showed that (1) in an overall image, personnel rated their level of quality of working life less than 80%. An average score was at medium level at 3.40. Other 7 categories of quality of working life was at medium level. The statistics ran from highest to lowest value were organizational success and acceptance; working rules; opportunities to develop capabilities; job security and advancement; fair and sufficient pay; safe and healthy work environment; and participation in the organization. The quality of working life was rated at high level comprised of 4 categories. Those were social relations; work-life balance; fringe benefits; respect for personal rights and freedoms; and fairness (2) Comparison of personnel who had personal factor differences obtained different quality of working life (3) motivation factors were found to be weakly related to the quality of working life (0.29) and organizational factors were related to the quality of working life at medium level (0.42) (4) Approaches to develop personnel’s quality of working life of Chonburi Provincial Excise Office, it was revealed that the organization should develop[ fair and sufficient pay factor the most, followed by the opportunity for developing personnel’ capabilities, job security and advancement, respect for personal rights and freedoms, fairness, safe and healthy work environment, and mutual benefits, respectivelyen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
150196.pdfเอกสารฉบับเต็ม18.56 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons