กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/978
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorปัทมาพร เย็นบำรุง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorชำนาญ เชาวกีรติพงศ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorบุษกร สัญชัย, 2517--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-23T08:57:08Z-
dc.date.available2022-08-23T08:57:08Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/978-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (สารสนเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงพัฒนา มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศบนเว็บ เพื่อใช้สนับสนุนการบริหารงานฝึกอบรมของศูนย์ฝึกอบรมวิศวกรรมเกษตร การพัฒนาระบบใช้วิธีการตามหลักการของวงจรการพัฒนาระบบสารสนเทศ เริ่มจาก การศึกษาความเป็นไปได้ของระบบโดยสัมภาษณ์ผู้ใช้ ซึ่งเป็นบุคลากรของศูนย์ฯ ทั้งระดับบริหาร และระดับปฎิบัติการรวม 12 คน จากนั้นวิเคราะห์และออกแบบระบบใหม่ ซึ่งประกอบด้วยระบบ ย่อย 3 ระบบ คือ ระบบนำเข้า ระบบค้นหา และระบบแสดงผล โดยครอบคลุมข้อมูลต่าง ๆ ได้แก่ โครงสร้างการบริหารงานฝึกอบรม หลักสูตรการฝึกอบรม ประวัติวิทยากร ทำเนียบผู้ผ่าน การฝึกอบรม ปฏิทินการฝึกอบรม เอกสารที่เกี่ยวกับ งานฝึกอบรม เอกสารการประเมินผล หลักสูตรการฝึกอบรม สถิติต่าง ๆ และข่าวประชาสัมพันธ์ การพัฒนาระบบดำเนินการภายใต้ ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows XP โดยใช้โปรแกรม ภาษา PHP โปรแกรมการจัดการ ฐานขอมูล MySQL และโปรแกรม Editplus 2 ผลการวิจัยนี้ทำให้ได้ระบบสารสนเทศบนเว็บที่สามารถสนับสนุนการบริหารงาน ฝึกอบรมของศูนย์ฝึกอบรมวิศวกรรมเกษตรได้อย่างมีประสิทธิภาพ จากการประเมินความพึงพอใจ ของผู้ใช้ซึ่งประกอบด้วย ผู้บริหารและบุคลากรอื่นๆ รวม 37คน พบว่าผู้ใช้ส่วนใหญ่มี ความพึงพอใจต่อระบบแสดงผล ค้นหา และภาพรวมของระบบอยู่ในระดับมาก และระบบนำเข้า อยู่ในระดับมากที่สุดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.26-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectศูนย์ฝึกอบรมวิศวกรรมเกษตรth_TH
dc.subjectระบบสารสนเทศ--การจัดการth_TH
dc.subjectการฝึกอบรม--แบบเรียนสำเร็จรูปth_TH
dc.titleการพัฒนาระบบสารสนเทศบนเว็บเพื่อสนับสนุนการบริหารงานฝึกอบรม : กรณีศึกษาศูนย์ฝึกอบรมวิศวกรรมเกษตรth_TH
dc.title.alternativeThe development of web-based information system for training management support : a case of Agricultural Engineering Training Centerth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2007.26-
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศิลปศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research and development study was to develop an on- line information system for training management support at the Agricultural Engineering Training Center. The system development life cycle methodology was used. A preliminary study was conducted through interviews with 12 users, who were the Center staff both at the administrative and operational levels. The analysis and design of the new system were carried out accordingly. The information system consisted of 3 subsystems: input subsystem, search subsystem and the output subsystem. The whole system included data about organization charts, training courses, trainer information, trainee information, training schedules, training documents, evaluation documents, statistics, and public relations information. PHP, MySQL and Edit plus 2 under the Microsoft Windows XP operating system were used as development tools. The result showed that newly-developed system efficiently supported the Center’s training management. The evaluation of the information system by 37 users, including administrators and other personnel, revealed that most users were satisfied with the search and the output subsystem and the overall system at the high level, and with the input subsystem at the highest levelen_US
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Arts-Theses

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
fulltext (18).pdfเอกสารฉบับเต็ม14.46 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons