Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9815
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภรณี ต่างวิวัฒน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorเบญจมาศ อยู่ประเสริฐ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพัชราภรณ์ แก้วน้ำใส, 2506--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-09-29T04:26:11Z-
dc.date.available2023-09-29T04:26:11Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9815-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) สภาพพื้นฐานบางประการของอาสาพัฒนาปศุสัตว์ ประจำหมู่บ้าน (2) บทบาทของอาสาพัฒนาปศุสัตว์ประจำหมู่บ้านในการพัฒนาการผลิตปศุสัตว์ (3) ปัญหา อุปสรรคและแนวทางแก้ไขปัญหาในการปฏิบัติหน้าที่ตามบทบาทของอาสาพัฒนาปศุสัตว์ประจำหมู่บ้าน ผลการวิจัยพบว่า อาสาพัฒนาปศุสัตว์ประจำหมู่บ้านมีอายุเฉลี่ย 46.57 ปี เกือบทั้งหมดเป็นเพศชาย จบประถมศึกษาปีที่ 4-6 อาชีพหลักทำนา อาชีพรองเลี้ยงปศุสัตว์ มีพื้นที่ถือครองเป็นของตนเองเฉลี่ย 13.29 ไร' ปฏิบัติงานด้านอาสามานานเฉลี่ย 4.89 ปี สาเหตุในการมาปฏิบัติหน้าที่อาสาเนื่องจากเจ้าหน้าที่ปศุสัตว์ชักชวน หลักสูตรที่เข้ารับการอบรมเพิ่มเติมมากที่สุดคือ หลักสูตรอาสาทบทวน ชนิดปศุสัตว์ที่เลี้ยงมากที่สุค คือสัตว์ปีก โดยเลี้ยงเฉลี่ยคนละ 129.82 ตัว อาสาพัฒนาปศุสัตว์ประจำหมู่บ้านทำการเลี้ยงสัตว์ของตนโดยมีการคัดเลือกพันธุ์ และการปรับปรูงพันธุสัตว์ของตนเอง โดยเลือกใช้พ่อแม่พันธุ์ดี อาหารและการใบ้อาหารขึ้นอยู่กับชนิดปศุสัตว์ โค กระบือ ปล่อยให้หากินเองตามธรรมชาติ โดยเสริมอาหารสำเร็จรูปที่ชื้อจากบริษัทที่มีสารอาหารครบตาม ความต้องการ ทำวัคซีนการป้องกันโรคระบาด ถ่ายพยาธิภายในและภายนอก อาสาพัฒนาปศุสัตว์ประจำหมู่บ้าน ทำหน้าที่เป็นผู้นำเกษตรกรโดยการแจ้งปัญหาและความต้องการของเกษตรกรให้เจ้าหน้าที่ปศุสัตว์แนะนำชักชวนให้เกษตรกรมาใช้บริการกองทุนยา ประชาสัมพันธ์ให้มาพบเจ้าหน้าที่เพื่อรับการถ่ายทอดข่าวสารความรู้ด้าน ปศุสัตว์ แนะนำซักชวนให้ทำวัคซีน ประสานงานนัดหมายเพื่อทำวัคซีน ทำหมัน และตอน ปฏิบัติงานบันทึกข้อ มูลจำนวนครัวเรือนที่เลี้ยงปศุสัตว์ และจำนวนสัตว์ที่มีในหมู่บ้าน ความรู้ที่สามารถใบ้บริการคือ ความรู้ต้านการ ป้องกันโรคและการฉีดวัคซีน งานอื่นๆที่ไต้รับมอบหมายใบ้ปฏิบัติคือการฉีดวัคซีนสุนัข แมว และวัคซีนโค กระบือ อาสาพัฒนาปศุสัตว์ประจำหมู่บ้านมีปัญหาในการปฏิบัติงานระดับน้อยถึงระดับค่อนข้างมากโดยมีปัญหา อุปสรรคระดับค่อนข้างมาก คือการขาดเวชภัณฑ์ที่จะใข้รักษาโรคใบ้สัตว์ในเนื่องด้น ปัญหาอุปสรรคระดับปาน กลาง คือ การขาดความร่วมมือจากเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ในหมู่บ้าน และการไม่มีเวลาในการปฏิบัติงาน ข้อเสนอ แนะของอาสาพัฒนาปศุสัตว์ประจำหมู่บ้านต้องการเพิ่มค่าตอบแทนในการฉีดวัคซีนป้องกันโรค การสำรวจสัตว์ และด้องการที่จะรับการอบรมด้านรักษาพยาบาลสัตว์เพิ่มเต็มth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2003.262-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectอาสาพัฒนาปศุสัตว์ประจำหมู่บ้าน--ไทย--อ่างทองth_TH
dc.titleบทบาทของอาสาพัฒนาปศุสัตว์ประจำหมู่บ้านในจังหวัดอ่างทองth_TH
dc.title.alternativeRoles of village livestock development volunteers in Ang Thong province /en_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2003.262-
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
83620.pdfเอกสารฉบับเต็ม8.71 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons