Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9850
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมจิต โยธะคง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorเบญจมาศ อยู่ประเสริฐ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสมาน ลายแก้ว, 2501--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-10-02T07:22:41Z-
dc.date.available2023-10-02T07:22:41Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9850-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2549th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) สภาพพื้นฐานทางสังคมและเศรษฐกิจ บางประการของเกษตรกร (2) ความรู้ของเกษตรกรเกี่ยวกับเทคโนโลยีการผลิตข้าวคุณภาพดี (3) ทัศนคติของเกษตรกรต่อการผลิตข้าวคุณภาพดี (4) การยอมรับเทคโนโลยีการผลิตข้าวคุณภาพ ดีของเกษตรกร และ (5) ปัญหาและข้อเสนอแนะของเกษตรกรเกี่ยวกับการยอมรับการผลิตข้าว คุณภาพดี ผลการวิจัย พบว่า เกษตรกรส่วนมากเป็นเพศหญิง มีอายุเฉลี่ย 47.57 ปี จบการศึกษาตํ่า กว่าภาคบังคับ มีสมาชิกในครัวเรือนทั้งหมดเฉลี่ย 5.22 คน ประสบการณ์ในการปลูกข้าวเฉลี่ย 10.01ปีเกษตรกรมีพื้นที่ถือครองทั้งหมดเฉลี่ย 12.51 ไร่ สมาชิกในครัวเรือนที่เป็นแรงงานในการ ผลิตข้าวเฉลี่ย 3.02 คน มีรายได้ทั้งหมดในภาคเกษตร เฉลี่ย 20,748.29 บาท มีความรู้พื้นฐาน เกี่ยวกับเทคโนโลยีในเรื่องการทำความสะอาดเครื่องนวดสีทุกครั้งก่อนนวดสีมีความคิดเห็นต่อการ ผลิตข้าวคุณภาพดีในระดับมาก มีการยอมรับเทคโนโลยีการผลิตข้าวในระดับมากเป็นอันดับ 1 คือ ด้านการเก็บเกี่ยวในเรื่องการระบายนํ้าออกจากแปลงนาก่อนเก็บเกี่ยว 7-10 วัน มีปัญหาในการผลิต ข้าวที่สำคัญที่สุด คือ ด้านการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวในเรื่องการจำหน่ายได้ราคาตํ่า ส่วน ข้อเสนอแนะเกษตรกรระบุว่าควรสนับสนุนเครื่องจักรกลไถเตรียมดิน จัดการเรื่องนํ้าให้เพียงพอใน ไร่นา จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวคับการระบาดของโรคแมลง และควรให้มีการประกันราคาอย่าง ต่อเนื่องเป็นระยะ 3-5 ปีth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2006.4-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectข้าว--การผลิต--เทคโนโลยีที่เหมาะสมth_TH
dc.subjectเกษตรกร--ไทย--อุดรธานีth_TH
dc.titleการยอมรับเทคโนโลยีการผลิตข้าวคุณภาพดีของเกษตรกรตำบลเชียงยืน อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานีth_TH
dc.title.alternativeAn adoption of good quality rice production technology by farmers in Chiang Yun Sub-district, Muang District, Udon Thani Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2006.4-
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
100890.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.6 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons