Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9855
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพรทิพย์ อุดมสิน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorภรณี ต่างวิวัฒน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorประจักร์ ประสงค์สุข, 2506--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-10-02T08:16:02Z-
dc.date.available2023-10-02T08:16:02Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9855-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2549th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเกษตรกรผู้ผลิตหน่อไม้ฝรั่งอินทรีย์จังหวัดสระแก้ว ดังนี้ 1) สภาพทางสังคมและเศรษฐกิจ 2) การใช้เทคโนโลยีในการผลิตหน่อไม้ฝรั่งอินทรีย์ 3) ปัญหาและข้อเสนอแนะ เกี่ยวกับการผลิตหน่อไม้ฝรั่งอินทรีย์ ผลการวิจัยพบว่า 1) เกษตรกรสองในสามเป็นเพศชาย อายุเฉลี่ย 41.16 ปี จบการศึกษาระดับ ประถมศึกษา เกษตรกรเกือบทั้งหมดเป็นสมาชิกสถาบันเกษตรกร ใช้แรงงานเฉลี่ย 4 คน โดยเกษตรกรมากกว่า ครึ่งหนึ่งใช้แรงงานในครัวเรือน พื้นที่ปลูกเฉลี่ย 2.15 ไร่ และปลูกหน่อไม้ฝรั่งอินทรีย์เฉลี่ย 2.72 ปี ให้ผลผลิตเฉลี่ย 2,811.67กิโลกรัมต่อไร่มีการจดบันทึกบัญชีฟาร์มไม่ครบถ้วนรายได้เฉลี่ย 87,618.94 บาทต่อไร่คุณภาพของ หน่อไม้ฝรั่งอินทรีย์อยู่ในเกรด B เกษตรกรได้ผ่านการอบรมและได้รับคำแนะนำจากเจ้าหน้าที่บริษัท 2) พื้นที่ปลูก หน่อไม้ฝรั่งอินทรีย์ตังอยู่ห่างจากโรงงานอุตสาหกรรมเคมี ถนนหลวงและแปลงปลูกพืชที่ใช้สารเคมี มีการเก็บ ตัวอย่างดินและนั้าเพื่อวิเคราะห์หาสารปนเปือนทุกปี พันธุ์ที่ใช้ปลูกมากคือ พันธุบล็อกอิมปรู้พ อัตราการใช้เมล็ด พันธุ์ในการเพาะค้นกล้าเฉลี่ย 255.81 กรัมต่อไร่ เพาะในสินผสมปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก นาน 4 เดือน จึงย้ายปลูก ใน การเตรียมสิน เกษตรกรไถสินลึก 31-40 เซนติเมตร ตากดิน 8 -15 วัน จากนั้นใช้ปุ๋ยอินทรีย์เฉลี่ย จำนวน 358.59 กรัม รองก้นหลุม ระยะปลูก 40 X 150 เซนติเมตร ใช้ปุ๋ยหมักเฉลี่ย 2,039.90 กิโลกรัมต่อไร่ต่อปีและปุ๋ยคอกเฉลี่ย 2,026.82 กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี มีการให้น้ำแบบมินิสปริงเกอร์ วันละ 1 ครั้ง ทำราวเชือกยึดเพื่อป้องกันไม่ให้ด้นล้ม มี การพูนดินกลบโคนต้น เมื่อปลูกไปแล้ว 8 เดือน จึงเก็บผลผลิต 2 เดือน แล้วพักต้น 1 เดือน และไว้ 3-4 ต้นต่อกอ กำจัดวัชพืชโดยใช้แรงงานคน กำจัดโรคและแมลงศัตรูพืชโดยใช้น้ำสกัดสมุนไพร น้ำหมักชีวภาพ และเชื้อราไตรโค เดอร์มา เกษตรกรประมาณหนึ่งในสาม เก็บเกี่ยวผลผลิต ในช่วงเวลา 06.00 ถึง 09.00 นาฬิกา โดยวิธีการถอนโดยจับ โคนต้น ทำความสะอาดหน่อไม้ฝรั่งอินทรีย์ด้วยการล้างน้ำจากลำคลองและเกษตรกรส่วนมากนำไปจำหน่ายให้กับ บริษัทสวิฟท์ จำกัด ต้านราคาเกษตรกรส่วนมากพอใจ 3) เกษตรกรประมาณสองในสามพบปัญหาเรื่องสภาพของ พื้นที่ปลูก และเกษตรกรประมาณหนึ่งในสาม พบปัญหาเรื่องการหาแหล่งวัตถุดิบของเชื้อราไตรโคเดอร์มา ดังนั้น เกษตรกรจึงเสนอแนะให้รัฐช่วยในการปรับปรูงบำรูงดิน พัฒนาแหล่งน้ำ หาแหล่งวัตถุดิบในการผลิตเชื้อราไตรโค เดอร์มา และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรเข้าพื้นที่ให้คำแนะนำเกษตรกรในพื้นที่ให้มากยิ่งขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2006.104-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectหน่อไม้ฝรั่ง--การผลิต--เทคโนโลยีที่เหมาะสมth_TH
dc.subjectเกษตรอินทรีย์--ไทย--เพชรบุรีth_TH
dc.subjectเกษตรกร--ไทย--สระแก้วth_TH
dc.titleการใช้เทคโนโลยีการผลิตหน่อไม้ฝรั่งอินทรีย์ของเกษตรกรจังหวัดสระแก้วth_TH
dc.title.alternativeAn application of organic asparagus production technology by farmers in Sakaeo Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2006.104-
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
100893.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.67 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons