Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9861
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมจิต โยธะคง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorเบญจมาศ อยู่ประเสริฐ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวิรุจน์ ทาดี, 2507--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-10-03T02:13:40Z-
dc.date.available2023-10-03T02:13:40Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9861-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2549th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) สภาพพื้นฐานทางสังคมและเศรษฐกิจ ชองเกษตรกร (2) ความพื้นฐานของเกษตรกรเกี่ยวกับการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวชัยนาท 1 (3) ทัศนคติของเกษตรกรร่วมโครงการแปลง ขยายพันธุ์ ต่อการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวชัยนาท 1 (4) สภาพการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวชัยนาท 1 และ (5) ปัญหาและ ข้อเสนอแนะของเกษตรกร การวิจัยครั้งนี้ปรากฏผลว่า เกษตรกรส่วนมากเป็นเพศชาย มีอายุเฉลี่ย 50.83 ปี สถานภาพสมรส จำนวนสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 4.29 คน ส่วนใหญ่มีระดับการศึกษาตํ่ากว่าภาคบังคับ มีประสบการณ์ทำนาเฉลี่ย 29.84 ปี จำนวนแรงงานในครัวเรือนเฉลี่ย 2.43 คน จำนวนแรงงานนอกครัวเรือนเฉลี่ย 1.51 คน มีรายได้รวมต่อปี พ.ศ. 2548 เฉลี่ย 132,043.60 บาท มีหนี้สิน เฉลี่ย 104,191.40บาท มีนี้นที่ถือครองเฉลี่ย 22.84 ไร่ จำหน่ายผลผลิตปี พ.ส. 2548 ได้ราคาเฉลี่ย 6.30 บาท เกษตรกรทั้งหมดมีความรู้พื้นฐานระดับสูง โดยได้รับความรู้จากแหล่งความรู้ พื้นฐานเกี่ยวกับการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวชัยนาท 1 ราก เจ้าหน้าที่จากศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าว ทัศนคติของเกษตรกรร่วมโครงการแปลงขยายพันธุ์มากที่สุด คือมีความภาคภูมิใจที่ได้เป็นผู้ผลิตเมล็ดพันธุ์ให้ชุมชน น้อยสุด คือได้รับการยอมรับจากชุมชน เศรษฐกิจในครอบครัวมั่นคง เกษตรกรส่วนใหญ่เริ่มผลิตเมล็ดพันธุ์ให้ศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวก่อน พ.ศ. 2536 ทั้งหมดเคยรับการอบรม เมล็ดพันธุ์ให้ปลูกเฉลี่ย 1928 กิโลกรัมต่อไร่ ทั้งหมดปลูกข้าวโดยวิธีการหว่าน น้ำตม ส่วนใหญ่ปลูกระหว่าง วันที่ 11-20 กุมภาพันธ์ อายุข้าวที่เก็บเกี่ยวเฉลี่ย 127.06 วัน ผลผลิตเมล็ดพันธุ์ซื้อคืน เฉลี่ยต่อไร่ 460.94 กิโลกรัม ปัญหาที่พบมากเกษตรกรมีปัญหาเรื่องพื้นที่ทำแปลงขยายพันธุ์มีข้าวเรื้อและพันธุ์ปนมาก เกษตรกรมีข้อเสนอแนะคือใช้ระบบกลุ่มช่วยในการตรวจตัดถอนพันธุ์ปน ควบคุมการใช้รถเกี่ยวนวดในการเก็บ เกี่ยว และใช้เมล็คพันธ์ข้าวจากศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวนครราชสีมาปลูกเมื่อปรับสภาพพื้นที่ วางแผนการปลูกให้มีการ เหลื่อมวันปลูกเมื่อให้ข้าวสุกแก่ไม่พร้อมกัน ชำระเงินค่าเมล็ดพันธุ์ไห้ศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวหลังจากจำหน่ายเมล็ดพันธุ์ และจัดตั้งกองทุนกลุ่ม ผลการทดสอบสมมตฐานพบว่าสภาพทางสังคมและเศรษฐกิจ มีความสัมพันธ์กับสภาพการ ผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวชัยนาท 1 ได้แก่ระดับการศึกษา ประสบการณ์การทำนา พื้นที่ถือครองth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2006.202-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวนครราชสีมาth_TH
dc.subjectข้าวชัยนาท 1--เมล็ดพันธุ์--การผลิตth_TH
dc.subjectข้าว--เมล็ดพันธุ์--การผลิตth_TH
dc.subjectเกษตรกร--ไทย--นครราชสีมาth_TH
dc.titleสภาพการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวชัยนาท 1 ของสมาชิกผู้ร่วมโครงการแปลงขยายพันธุ์ของศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวนครราชสีมา ในอำเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมาth_TH
dc.title.alternativeSituations of Chainat 1 rice seed production by the Seed Expansion Project Members of Nakhon Ratchasima Rice Seed Center in Pak Thongchai District, Nakhon Ratchasima Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2006.202-
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
100898.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.16 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons