Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9863
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบำเพ็ญ เขียวหวาน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสมจิต โยธะคง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorธีระ กิจเจริญ, 2506--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-10-03T02:33:40Z-
dc.date.available2023-10-03T02:33:40Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9863-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2549th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) สภาพสังคม เศรษฐกิจของเกษตรกรที่เข้ารับการ ฝึกอบรมตามโครงการโรงเรียนเกษตรกรไม้ผล จังหวัดระยอง (2) เพื่อประเมินผลการฝึกอบรมตามโครงการ โรงเรียนเกษตรกรไม้ผล จังหวัดระยอง (3) เพื่อศึกษาปัญหา และข้อเสนอแนะในการฝึกอบรมตามโครงการ โรงเรียนเกษตรกรไม้ผล จังหวัดระยอง ผลการวิจัยสรุปได้ว่า 1) เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นเพศชายร้อยละ 61.6 อายุเฉลี่ย 51 ปีขึ้นไป ระดับ การศึกษาชั้นประถมศึกษา มีสมาชิกในครอบครัวเฉลี่ย 3 คน เป็นสมาชิกกลุ่มเกษตรกร มีแรงงานในครอบครัว ตํ่ากว่าเฉลี่ย 3 คน มีพื้นที่ทำสวนทั้งหมดเฉลี่ย 6-10 ไร่ ทำสวนทุเรียนอายุทุเรียนเฉลี่ย 10-15 ปี ใช้ต้นทุนการผลิตได้ผลผลิตทุเรียนเฉลี่ย 862 กิโลกรัม / ไร่ จำหน่ายผลผลิตในตลาดท้องถิ่น ได้รับข่าวสารจากเจ้าหน้าที่และ พบปะเจ้าหน้าที่เฉลี่ย 10.27 ครั้งต่อปี 2) มีความรู้มากใน เรื่อง การเรียนรู้จำเป็นต้องเรียนรู้อย่างต่อเนื่องและ ตลอดฤดูการผลิต ความเหมาะสมในการจัดตั้งโรงเรียนเกษตรกรอยู่ในระดับที่เหมาะสมมากวิทยากรมีความเต็มใจและเป็นกันเองในการถ่ายทอดความรู้ การนำความรู้ไปปฏิบัติ อยู่ในระดับมาก คือเรื่องการใช้พันธุไม้ผลพันธุ์ดี ผลจากการนำความรู้ไปปฏิบัติอยู่ในระดับมากคือเรื่องการสำรวจสวนผลไม้ช่วยในการตัดสินใจจัดการสวนผลไม้ 3) ปัญหาในการปลูกทุเรียนอยู่ในระดับปานกลางคือการระบาดของเพลี้ยไฟและไรแดง ปัญหาในโรงเรียนเกษตรกรอยู่ในระดับน้อย คือ วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการฝึกอบรมมีน้อยเกินไปไม่เหมาะสมข้อเสนอแนะในโรงเรียนเกษตรกรควรมี ระยะเวลาฝึกอบรม ครั้งละ 2 ปีและต้องการให้ฝึกอบรม ไปเรื่อยๆ การฝึกปฏิบัติ วันละ 3 ชั่วโมง ในช่วงบ่าย หลักสูตรควรทำเอกสารฝึกอบรมแจกหลังฝึกอบรมเสร็จ วัสดุอุปกรณ์ควรให้เกษตรกรนำมาเองบ้างth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2006.94-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectเกษตรกร--การฝึกอบรม--การประเมินth_TH
dc.subjectเกษตรกร--ไทย--ระยองth_TH
dc.titleการประเมินผลการฝึกอบรมตามโครงการโรงเรียนเกษตรกรไม้ผลจังหวัดระยองth_TH
dc.title.alternativeAn evaluation of the training under the fruit farmers' field school project in Rayong Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2006.94-
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
101803.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.71 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons