Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9865
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุนันท์ สีสังข์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorภรณี ต่างวิวัฒน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorศิริชัย สามขุนทด, 2516--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-10-03T02:54:27Z-
dc.date.available2023-10-03T02:54:27Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9865-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2549th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อเพื่อ 1.เพื่อศึกษาสภาพทางสังคมและเศรษฐกิจของเกษตรกรใน จังหวัดกำแพงเพชร 2.เพื่อศึกษาการผลิตข้าวในจังหวัดกำแพงเพชร 3.เพื่อศึกษาความคิดเห็นและความต้องการ ของเกษตรกร 4.เพื่อศึกษาเหตุผลในการตัดสินใจเข้าร่วมโครงการผลิตข้าวลูกผสมของเกษตรกร ผลการวิจัย พบว่า เพศ เกษตรกรผู้ปลูกข้าวพันธุ์ลูกผสมมากว่าครึ่งเป็นเพศชาย คือร้อยละ 63.0 เกษตรกรมีอายุ อายุเฉลี่ย 43.74ปี จบการศึกษาในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ร้อยละ 39.0 รองลงมาคือชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 ร้อยละ 23.0 จำนวนสมาชิกที่อาศัยอยู่ในครัวเรือนเฉลี่ย 4.47 คน จำนวนแรงงานภาค การเกษตรในครัวเรือนเฉลี่ย 2.7 คน ภูมิลำเนา เป็นคนในท้องถิ่นเกือบทั้งหมด ร้อยละ 92.0 ด้านการเป็นสมาชิก กลุ่มทางการเกษตร พบว่า มากกว่าครึ่งหนึ่งที่ไม่ได้เป็นสมาชิกกลุ่มทางเกษตร ร้อยละ 57.0 พื้นที่ถือครองการทำ เฉลี่ย 9.42 ไร่ เครื่องจักรกลการเกษตร/เครื่องทุ่นแรงที่ใช้ในการเกษตรเป็นของตนเอง พบว่า ส่วนใหญ่เกษตรกรมี รถไถเดินตาม รองลงมาคือ เครื่องพ่นยา และเครื่องสูบนํ้า ด้านการกู้เงินเพื่อการทำนา เกษตรกรที่กู้เงินมาเพื่อทำ นาข้าวลูกผสม ร้อยละ 70.0 แหล่งเงินกู้ที่ให้กู้ มากกว่าครึ่งกู้เงินมาจาก ธกส. เกษตรกรส่วนใหญ่จะตัดสินใจในการเข้าร่วมโครงการด้วยเหตุผล การใช้เครื่องจักรกลการเกษตร มาใช้แทนแรงงานคนในการผลิต, การมีแหล่งเงินทุนให้กู้ยืม (สินเชื่อด้านวัสดุการเกษตร), ผลผลิตข้าวต่อไร่สูง, มีตลาดรองรับผลผลิตที่แน่นอน, แรงงานในการผลิตเพียงพอ รวมไปถึงการได้รับการตรวจเยี่ยมจากเจ้าหน้าที่ ส่งเสริมของบริษัทฯเป็นประจำและมีการชัดตั้งเป็นกองทุนประกันความเสี่ยงความเสียหาย ข้อเสนอแนะในการนำผลการวิชัยไปใช้ ควรส่งเสริมและสนับสทุนเกษตรกร ให้ใฝ่หาความรู้ ประสบการณ์และทักษะในการประกอบอาชีพการทำนาด้วยพันธุข้าวลูกผสม การคัดเลือกเกษตรกรผู้เข้าร่วม โครงการฯ ควรเลือกเกษตรกรที่มีความรู้รักความท้าวหน้าในอาชีพ มีความขยัน อดทน และใฝ่หาความรู้ใหม่ๆ มา สู่ตน ยอมรับเทคโนโลยีการผลิตแนวใหม่ จากเจ้าหน้าที่ล่งเสริม พื้นที่ในการปลูกข้าว ควรเป็นพื้นที่ที่เหมาะสม กับการทำนา มีระบบการชลประทานที่ดี และหาแหล่งเงินทุนให้กับเกษตรกรผู้ปลูกข้าว เพื่อเป็นการช่วยเหลือ เกษตรกรในเรื่องของการกู้ยืมเงินทุนในการทำนา และ การจัดหาปัจจัยการผลิตต่างๆ ข้อเสนอแนะสำหรับการทำวิจัยครั้งต่อไป ควรทำการศึกษาเกี่ยวกับการยอมรับพันธุ์ข้าวลูกผสม เพื่อนำมาปรับปธุงแก้ไขวิธีการล่งเสริมการเกษตรแก่th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectข้าว--การปลูกth_TH
dc.subjectเกษตรกร--ไทย--กำแพงเพชรth_TH
dc.subjectการส่งเสริมการเกษตร--ไทย--กำแพงเพชรth_TH
dc.titleความเป็นไปได้ของการส่งเสริมการปลูกข้าวลูกผสมแก่เกษตรกรในจังหวัดกำแพงเพชรth_TH
dc.title.alternativePossibility of extending hybrid rice production to farmers in Kamphaeng Phet Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
101806.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.29 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons