Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9866
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภรณี ต่างวิวัฒน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorพรทิพย์ อุดมสิน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเรณู หอมชะเอม, 2523--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-10-03T03:34:02Z-
dc.date.available2023-10-03T03:34:02Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9866-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2549th_TH
dc.description.abstractการวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเกษตรกร ดังนี้ (1) สภาพทางสังคมและเศรษฐกิจ (2) ความรู้ เกี่ยวกับการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ในนาข้าว (3) การใช้ปุ๋ยอินทรีย์ในนาข้าว (4) ปัญหาและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการใช้ปุ๋ย อินทรีย์ในนาข้าว ผลการวิจัยพบว่า (1) เกษตรมีอายูเฉลี่ย 55.75 ปีส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับประถมศึกษา มี ประสบการณ์ในการทำนา เฉลี่ย 32.29 ปี เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นสมาชิกสถาบันเกษตรกร โดยเป็นสมาชิกกสุ่ม ลูกต้า ธกส. มากที่สุด คือที่เกษตรกรส่วนใหญ่ได้รับความรู้ คือ เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร เกษตรกรเข้ารับ ความรู้เกี่ยวกับปุ๋ยอินทรีย์เฉลี่ย 2.73 ครั้งต่อปี มีขนาดพื้นที่เฉลี่ย 23.75 ไร, ในฤดูการผลิตปี 2549 มีรายได้และ รายจ่ายจากการทำนาเฉลี่ย 4,309.74 และ 2,916.20 บาทต่อไร่ จำนวนแรงงานที่ใช้ผลิตข้าว เฉลี่ย 1.94 คนต่อ ครัวเรือนทำนาเฉลี่ย 1.88 ครั้งต่อปี (2) ในภาพรวมเกษตรกรมีความรู้เกี่ยวกับปุ๋ยอินทรีย์ในระดับมากโดยมี ความรู้เกี่ยวกับป๋ยอินทรีย์น้ำ ปุ๋ยพืชสดและปุ๋ยคอกในระดับมาก และปุ๋ยหมักระดับปานกลาง (3) เกษตรกร มากกว่าหนึ่งในสามใช้ปุ๋ยคอก โดยใช้มูลวัว และหว่านทั่วแปลงนา อัตราเฉลี่ยไร่ละ 58.60 กิโลกรัม ในระยะ เตรียมดิน เกษตรกรมากกว่าหนึ่งในสามใช้ปุ๋ยหมัก หว่านทั่วแปลงนา อัตราเฉลี่ยไร่ละ 82.59 กิโลกรัม ในระยะ เตรียมดินและผลิตใช้เอง เกษตรกรมากกว่าหนึ่งในห้า ใช้ปุ๋ยพืชสด โดยปลูกพืชปุ๋ยสดก่อนการทำนา ใช้เมล็ด พันธุ์จากหน่วยงานราชการ ไร่ละ 4 กิโลกรัม และ สับกลบพืชปุ๋ยสดก่อนการปลูกข้าว เกษตรกรเกือบสามในสี่ ใช้ปุ๋ยอินทรีย์นำฉีดพ่นในช่วงการเจริญเติบโต อัตรา31-40 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร ใช้ 1-2 ครั้งต่อฤดูการผลิตและ ผลิตใช้เอง (4) ปัญหาการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ที่สำคัญ คือ ใช้ในปริมาณมาก ขั้นตอนการผลิตยู่งยาก หากหว่านพืชปุ๋ย สด จะไม่ทันน้ำชลประทานที่ปล่อยมา ความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการผลิต ตามลำดับ ลังนั้น เจ้าหน้าที่ ส่งเสริมการเกษตร และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรประสานความร่วมมือในการถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการผลิต และการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ สนับสนุนเอกสารเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ วัสดุต้นแบบ การรวมกลุ่มเพื่อช่วยกันผลิต ให้กับเกษตรกรอย่างจริงจังและต่อเนื่องth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectข้าว--ปุ๋ยอินทรีย์.th_TH
dc.subjectปุ๋ยอินทรีย์th_TH
dc.subjectเกษตรกร--ไทย--อ่างทองth_TH
dc.titleการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ในนาข้าวของเกษตรกรผู้ปลูกข้าว ตำบลห้วยคันแหลน อำเภอวิเศษชัยชาญ จังหวัดอ่างทองth_TH
dc.title.alternativeAn application of organic fertilizer to rice farming by rice farmers in Huay Kunlan Sub-district, Wiset Chaichan District, Angthong Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
101808.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.69 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons