กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9868
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พรทิพย์ อุดมสิน, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | ภรณี ต่างวิวัฒน์, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | พิณประภา บุษราคัม, 2516- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-10-03T03:52:38Z | - |
dc.date.available | 2023-10-03T03:52:38Z | - |
dc.date.issued | 2549 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9868 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2549 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสมาชิกกลุ่มปรับปรุงคุณภาพมังคุด อำเภอขลุง จังหวัดจันทบุรี ดังนี้ (1) สภาพทางสังคมและเศรษฐกิจ (2) การใช้เกษตรดีที่เหมาะสมสำหรับการผลิต มังคุด (3) ปัญหาและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการใช้เกษตรดีที่เหมาะสมสำหรับการผลิตมังคุด ผลการศึกษาสรุปได้ดังนี้ (1) สมาชิกสองในสามเป็นเพศชาย มีอายุเฉลี่ย 47.39ปี สมาชิก เกือบครึ่งหนึ่งจบการศึกษาระดับประถมศึกษา มีประสบการณ์ในการผลิตมังคุดเฉลี่ย 21.45 ปี ใช้แรงงาน ในการผลิตมังคุดเฉลี่ย 2.06 ราย สมาชิกมีพื้นที่ถือครองทำการเกษตรเฉลี่ย 23.00 ไร่ มีพื้นที่ผลิตมังคุด GAP เฉลี่ย 13.31 ไร่ ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อไร่ 5,198.65 บาท ราคามังคุดคัดเกรดเฉลี่ย 38.64 บาทต่อกิโลกรัม รายได้จากการจำหน่ายมังคุดเฉลี่ย 175,262.77 บาท รายได้เฉลี่ยต่อไร่ 13,599.79 บาท (2) การใช้เกษตรดี ที่เหมาะสม โดยภาพรวมสมาชิกใช้ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาในรายละเอียด 8 ด้าน สมาชิกมีการใช้ เกษตรดีที่เหมาะสมในระดับมากที่สุด 6 ด้าน ได้แก่ การใช้วัตถุอันตรายทางการเกษตร การเก็บรักษาและ การชนย้ายผลผลิตภายในแปลง การผลิตให้ปลอดภัยจากศัตรูพืช การรักษาคุณภาพภายนอกผล การบันทึก ข้อมูล และพื้นที่ สมาชิกมีการใช้เกษตรดีที่เหมาะสมในระดับมาก 2 ด้าน ได้แก่ แหล่งน้ำ การเก็บเกี่ยว และการปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว (3) สมาชิกหนึ่งในห้ามีปัญหาในด้านการบันทึกข้อมูล เนื่องจากไม่มีเวลา ในการบันทึก รวมทั้งแบบบันทึกมีความบุ่งยาก และไม่เข้าใจวิธีการบันทึก ดังนั้น สมาชิกต้องการให้ เข้าหน้าที่เข้าตรวจเยี่ยมแปลงอย่างสม่ำเสมอเพื่อให้คำแนะนำในการบันทึกข้อมูลอย่างถูกต้องและต่อเนื่อง | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2006.102 | - |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มังคุด--การผลิต | th_TH |
dc.subject | เกษตรกร--ไทย--จันทบุรี | th_TH |
dc.subject | เกษตรกรรม--แง่เศรษฐกิจ | th_TH |
dc.title | การใช้เกษตรดีที่เหมาะสมสำหรับการผลิตมังคุดของสมาชิกกลุ่มปรับปรุงคุณภาพมังคุด อำเภอขลุง จังหวัดจันทบุรี | th_TH |
dc.title.alternative | An application of good agricultural practice for managosteen production by mangosteen quality improvement groups in Khlung District, Chanthaburi Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2006.102 | - |
dc.degree.name | เกษตรศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | Agri-Theses |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
101810.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 3.66 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License