Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9869
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุนันท์ สีสังข์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorพรชุลีย์ นิลวิเศษ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorธงชัย สายวงศ์คำ, 2502--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-10-03T04:14:36Z-
dc.date.available2023-10-03T04:14:36Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9869-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2549th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตลุประสงค์เพื่อศึกษา (1) สภาพทางเศรษฐกิจและสังคมของ เกษตรกรผู้ปลูกลำไยจังหวัดตาก (2) การผลิตลำไยของเกษตรกรผู้ปลูกลำไยจังหวัดตาก (3) การตลาด และการแปรรูปลำไยจังหวัดตาก (4) ปัญหาและข้อเสนอแนะในการผลิตลำไยของเกษตรกรผู้ปลูก ลำไยจังหวัดตาก ผลการศึกษาสรุปได้ว่า (1) สภาพทางเศรษฐกิจและสังคมของเกษตรกรผู้ปลูกลำไย เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุเฉลี่ย 48.8 ปี จบ การศึกษาระดับประถมศึกษาภาคบังคับ เป็น สมาชิกกลุ่มผู้ปลูกลำไยและปลูกลำไยเป็นอาชีพหลัก พื้นที่ถือครองเป็นของตนเอง รายได้หลัก มาจากการทำสวนลำไยเฉลี่ยปีละ 58,318.50 บาท (2) การผลิตลำไยของเกษตรกร เกษตรกรส่วน ใหญ่มีการรวมกลุ่มกันเพื่อการผลิตโดยปลูกพันธุ์อีดอ พื้นที่ปลูกลำไยเฉลี่ย 8.57 ไร่ ซื้อกิ่งพันธุ์มา ปลูก ส่วนใหญ่ใช้ทุนส่วนตัว เครื่องมือส่วนใหญ่เป็นเครื่องสูบนํ้า มีการใส่ป็ยโดยใช้ปุ๋ยเคมี และ ปุ๋ยอินทรีย์ ใช้แรงงานคนในการกำจัดวัชพืช การให้นํ้าโดยใช้นํ้าราด เกษตรกรส่วนใหญ่มี การรวมกลุ่มกันเพื่อการผลิตลำไย (3) การตลาดและการแปรรูปลำไย เกษตรกรส่วนใหญ่จำหน่าย ในลักษณะขายส่งให้กับพ่อค้าต่างจังหวัด โดยขายขณะที่ลำไยแก่พร้อมที่จะเก็บ พ่อค้ามารับซื้อที่ สวนเกษตรกรได้ทำการแปรรูปลำไย ต้องการแปรรูปเป็นลำไยอบแห้ง เนื่องจากลำไยล้นตลาด (4) ปัญหาและข้อเสนอแนะ เกษตรกรจะมีปัญหาเกี่ยวกับความรู้การตลาดและการแปรรูป ราคาลำไย การ ขนส่งโรงงานแปรรูป และการลงทุนในการแปรรูป โดยเกษตรกรมีข้อเสนอแนะว่า ควรมีการถ่ายทอด ความรู้การผลิตที่ได้มาตรฐาน สนับสนุนแหล่งสินเชื่อดอกเบี้ยตํ่า มีตลาดรองรับที่แน่นอน มีการควบคุม ราคาและประกันราคาที่แน่นอน องค์กรส่วนท้องถิ่นควรให้การสนับสนุนเงินทุนและโรงงานแปรรูปth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2006.274-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectลำไย--การผลิตth_TH
dc.subjectลำไย--การตลาดth_TH
dc.subjectเกษตรกร--ไทย--ตากth_TH
dc.titleการผลิตและการตลาดลำไยของเกษตรกรจังหวัดตากth_TH
dc.title.alternativeLongan production and marketing of farmers in Tak Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2006.274-
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
101811.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.66 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons