Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9877
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเบญจมาศ อยู่ประเสริฐ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorภรณี ต่างวิวัฒน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกำธร บุราณสุข, 2511--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-10-03T07:22:16Z-
dc.date.available2023-10-03T07:22:16Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9877-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2549th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ศึกษาสภาพพื้นฐานทางสังคมของเกษตรกรผู้ปลูก ข้าวโพดไร่ (2) ความคิดเห็นต่อการผลิตข้าวโพดไร่ลูกผสม (3) ต้นทุนและผลตอบแทนการผลิตข้าวโพดไร่ (4) ปัญหาของเกษตรกรในการผลิตข้าวโพดไร่ ผลการวิจัยสรุปได้ว่า เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นชายเรียนจบชั้นประถมศึกษามีอายูเฉลี่ย 46.0ปี มี อาชีพหลักทำไร, และอาชีพรองเลี้ยงวัวนม มีที่ดินเป็นของตนเองเฉลี่ย 38.0 ไร่ มีเงินทุนประกอบการเป็นของ ตนเองรวมถึงแหล่งเงินเชื่อกู้ยืมจากธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร พันธุข้าวโพดลูกผสมที่ เกษตรกรนิยมปลูก คือ พันธุ์ CP QQQ CP 888 และ NK48 เกษตรกรส่วนใหญ่ใช้พันธุ์อายุเก็บเกี่ยวปานกลาง และมีเครื่องจักรเครื่องมือทั้งหมด ได้แก่รถแทรกเตอร์ เครื่องปลูก เครื่องพ่นสารเคมีเกษตรเมื่อเปรียบเทียบ การผลิตข้าวโพดในปี 2548 และปี 2549 พบว่า เกษตรกรมีต้นทุนการผลิตข้าวโพดเฉลี่ยสูงขึ้น 376.60 บาทต่อ ไร่ เนื่องจากป้จจัยการผลิตมีราคาสูงขึ้น ราคาขายผลผลิตเฉลี่ยสูงขึ้น 0.80 บาทต่อกิโลกรัม มีผลผลิตเฉลี่ย สูงขึ้น 316.2 กิโลกรัมต่อไร่ ทำให้มีรายไต้เฉลี่ยสูงขึ้นเป็น 2,016.70 บาทต่อไร่ การเตรียมดินเกษตรกรมีการ กำจัดด้นข้าวโพดและวัชพืชก่อนการไถดะ ปลูกโดยใช้เครื่องปลูกติดท้ายรถแทรกเตอร์ ในขณะที่ดินมี ความชื้นเหมาะกับการงอก มีการใช้ปุ๋ยเคมี 2 ครั้ง โดยครั้งที่ 1 เป็นปุ๋ยรองพื้นพร้อมปลูก และครั้งที่ 2 ใส่ปุ๋ย แต่งหน้าช่วงอายุ 25-35 วันการเก็บเกี่ยวผลผลิตส่วนใหญ่ใช้แรงงานคนมากกว่าเครื่องจักรและจำหน่ายใน รูปสีขายเมล็ดสด เกษตรกรส่วนใหญ่มีปัญหาด้านแรงงานในการเก็บเกี่ยวรองลงมา คือ ปัญหาด้านการเตรียม ดินและคุณภาพความงอกของเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2006.279-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectข้าวโพด--การผลิตth_TH
dc.subjectเกษตรกร--ไทย--ลพบุรีth_TH
dc.titleความคิดเห็นต่อการผลิตข้าวโพดไร่ลูกผสมของเกษตรกร อำเภอพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรีth_TH
dc.title.alternativeOpinions toward hybrid maize production of farmers in Phatthananikhom District, Lop Buri Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2006.279-
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
105533.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.5 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons