Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9886
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุนันท์ สีสังข์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสมจิต โยธะคง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเริงจิตร พรหมสถิต, 2495--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-10-04T02:06:21Z-
dc.date.available2023-10-04T02:06:21Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9886-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2549th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพทั่วไปทางสังคมและเศรษฐกิจของสมาชิก วิสาหกิจชุมชนใน จังหวัดระยอง 2) ศึกษาความรู้ของสมาชิกวิสาหกิจชุมชนในการดำเนินงานวิสาหกิจชุมชนใน จังหวัดระยอง 3) เพื่อศึกษาเจตคติของสมาชิกวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดระยอง 4) เพื่อศึกษาการดำเนินงานของ วิสาหกิจชุมชนในชังหวัดระยอง และ 5)ศึกษาปัญหาและข้อเสนอแนะการดำเนินงานวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดระยอง ผลการวิจัยสรุปได้ว่าสมาชิกวิสาหกิจชุมชน มีอายุเฉลี่ย 50.7 ปี มีสถานภาพสมรส จบการศึกษาภาค บังคับ มีสถานภาพเป็นกรรมการในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน ไม่มีตำแหน่งทางสังคม มีอาชีพหลักในการทำสวนไม้ผล/ ไม้ยืนด้น มีอาชีพรองค้าขาย มีจำนวนสมาชิกในครัวเรือนทั้งหมดเฉลี่ย 4.30 คน มีรายได้เฉลี่ยของครัวเรือน 309,555.00 บาท มีพื้นที่ทำการเกษตรเฉลี่ย 35.02 ไร่ ส่วนใหญ่มีการถู้ยืมเงินจาก ชกส. มีการรับรู้ข่าวสาร เกี่ยวกับ การประกอบอาชีพ/วิสาหกิจชุมชนจากเจ้าหน้าที่รัฐเป็นปะจำ/บ่อย มีความรู้ในการดำเนินวิสาหกิจชุมชน โดย ประเด็นที่สมาชิกทั้งหมดตอบถูก คือจำนวนของสมาชิกวิสาหกิจชุมชนและความหมายของผู้ประกอบการวิสาหกิจ ชุมชนรองลงมาคือสิทธิของวิสาหกิจชุมชนและเครือข่ายในการขอรับการส่งเสริมหรือสนับสนุนการพัฒนากิจการตาม พรบ.ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน พ.ศ. 2548 และความหมายของกิจกรรมของวิสาหกิจชุมชน ในเรื่องของเจตคติพบว่า สมาชิกวิสาหกิจชุมชนมีระดับเจตคติของสมาชิกต่อวิสาหกิจชุมชน ในภาพรวมเห็นด้วยมาก โดยมีคะแนนสูงสุด ในประเด็นวิสาหกิจชุมชนก่อให้เกิดการ พัฒนาคุณภาพสนค้า/การบริการเพื่อสร้างรายไต้ให้กับครอบครัวและชุมชน สำหรับการดำเนินงานของวิสาหกิจ ชุมชนในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยประเด็นที่ดำเนินการระดับมากที่สุด คือการดำเนินงานโดยการรับผิดชอบต่อลูกค้า สินค้า การบริการ มีความซื่อสัตย์ ตรงเวลา มีคุณภาพ และปลอดภัย สำหรับปัญหาของสมาชิกวิสาหกิจชุมชนส่วนใหญ่จะมีปัญหาเหมือนกัน ปัญหาด้านการผลิต ได้แก่ ขาดเงินทุนในการดำเนินงาน วัตถุดิบในการผลิตไม่เพียงพอ และขาดอุปกรณ์ในการดำเนินงาน ปัญหาต้านการตลาด ได้แก่ ขาดตลาดรองรับผลผลิต และปัญหาด้านความรู้ ได้แก่ ขาดความรู้ในเรื่องการตลาดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2006.275-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectวิสาหกิจชุมชน--ไทย--ระยองth_TH
dc.subjectวิสาหกิจชุมชน--การบริหารth_TH
dc.titleความคิดเห็นของสมาชิกต่อการดำเนินงานวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดระยองth_TH
dc.title.alternativeThe members' opinions toward the small and micro community enterprise operations in Rayong Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2006.275-
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
108725.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.52 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons