กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9892
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุนันท์ สีสังข์, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | พรทิพย์ อุดมสิน, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | สมคิด โพธิ์พันธุ์, 2500- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-10-04T03:21:24Z | - |
dc.date.available | 2023-10-04T03:21:24Z | - |
dc.date.issued | 2549 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9892 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2549 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพทางด้านสังคม และเศรษฐกิจของเกษตรกร 2) ความรู้ของเกษตรกรเกี่ยวกับการผลิตข้าวหอมมะลิอินทรีย์ 3) เจตคติในการผลิตข้าวหอมมะลิอินทรีย์ 4) การปฏิบัติของเกษตรกรในการผลิตข้าวหอมมะลิอินทรีย์ และ 5) ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ ในการผลิตข้าวหอมมะลิอินทรีย์ของเกษตรกรในโครงการส่งเสริมการผลิตข้าวอินทรีย์จังหวัดอุทัยธานี ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือ เกษตรกรผู้ร่วมโครงการส่งเสริมการผลิตข้าวอินทรีย์ จำนวน 146 คน ประมวลผลด้วยโปแกรมคอมพิวเตอร์ สถิติที่ใช้ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าตํ่าสุด ค่าสูงสุด ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า เกษตรกรร้อยละ 70.6 จบการศึกษาระดับประถมศึกษา ร้อยละ 100 เป็น สมาชิกสถาบันการเกษตร โดยส่วนใหญ่เป็นสมาชิกกลุ่มสหกรณ์/ธ.ก.ส. ส่วนใหญ่มีคะแนนความรู้ เกี่ยวกับการผลิตข้าวหอมมะลิอินทรีย์เกินร้อยละ 80 และมีเจตคติในการผลิตข้าวหอมมะลิอินทรีย์ใน ระดับมากที่สุด มีประสบการณ์ทำนาเฉลี่ย 32.55ปี พื้นที่ปลูกข้าวอินทรีย์เฉลี่ย 21.33 ไร, ปลูกข้าวในช่วง เดือนมิถุนายน ส่วนใหญ่ใช้วิธีหว่าน โดยใช้เมล็ดพันธุ์นาดำเฉลี่ย 7.47 กิโลกรัมต่อไร่ ใช้เมล็ดพันธุนา หว่านเฉลี่ย 18.70 กิโลกรัมต่อไร่ แหล่งพันธุ์มาจากศูนย์ขยายเมล็ดพันธุ์ข้าว ใช้ปุ๋ยหมัก อายุเก็บเกี่ยวข้าว เฉลี่ย 129.06 วัน ผลผลิตข้าวเฉลี่ย 467.21 กิโลกรัมต่อไร่ จำหน่ายข้าวราคาเฉลี่ยเฉลี่ย 6.52 บาท/กิโลกรัม และจำหน่ายให้กับกลุ่มผู้ผลิตข้าวอินทรีย์ รายได้จากการผลิตข้าวอินทรีย์ต่อไร่เฉลี่ย 3,041.90 บาท รายได้จากการผลิตข้าวอินทรีย์ต่อปีเฉลี่ย 63,913.19 บาท ต้นทุนการผลิตข้าวนาดำเฉลี่ย 1,910.48 บาท ไต้รับการอบรมเฉลี่ย 4.29 ครั้งต่อปี และไต้รับการติดตามและให้คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2006.85 | - |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | ข้าวหอมมะลิ--การผลิต | th_TH |
dc.subject | ข้าวอินทรีย์--การผลิต | th_TH |
dc.subject | เกษตรกร--ไทย--อุทัยธานี | th_TH |
dc.title | การผลิตข้าวหอมมะลิอินทรีย์ของเกษตรกรในโครงการส่งเสริมการผลิตข้าวอินทรีย์ จังหวัดอุทัยธานี | th_TH |
dc.title.alternative | Organic Hom Mali rice production by farmers in organic rice production extension project in Uthai Thani Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2006.85 | - |
dc.degree.name | เกษตรศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | Agri-Theses |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
109990.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 3.43 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License