Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9894
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุนันท์ สีสังข์, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | ภรณี ต่างวิวัฒน์, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | ยงยุทธ ศรีนวล, 2505- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-10-04T03:36:22Z | - |
dc.date.available | 2023-10-04T03:36:22Z | - |
dc.date.issued | 2549 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9894 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2549 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) สภาพทางเศรษฐกิจและสังคมของเกษตรกรในอำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด (2) สภาพทั่วไปเกี่ยวกับการผลิตและการตลาดข้าวหอมมะลิอินทรีย์ของเกษตรกรใน พื้นที่อำเภอเกษตรวิสัย (3) เจตคติของเกษตรกรที่มีผลต่อการผลิตข้าวหอมมะลิอินทรีย์ (4) การปฏิบัติตามหลักการ ผลิตข้าวหอมมะลิอินทรีย์และ(5) ปัญหาและข้อเสนอแนะในการผลิตข้าวหอมมะลิอินทรีย์ของเกษตรกร ผลการวิจัยพบว่า เกษตรกรที่ให้ข้อมูลส่วนใหญ่เป็นเพศชาย จบการศึกษาระดับประถมศึกษา มีอายุ เฉลี่ย 49.30 ปี ในครอบครัวมีสมาชิกวัยแรงงานเฉลี่ย 3.8 คน พื้นที่ทำนาเฉลี่ย 33.71 ไร่ มีการเลี้ยงสัตว์ ใช้เงินทุน จากธกส. มีหนี้สินในระบบเฉลี่ย 138,681.55 บาทและนอกระบบเฉลี่ย 27,276.31 บาทต่อครัวเรือน รายได้จากการ จำหน่ายผลผลิตการเกษตรด้านพืชเฉลี่ย 83,783.64 บาท รายได้รวมภาคเกษตรเฉลี่ย 98,362.26 บาท รายได้รวม นอกภาคการเกษตรเฉลี่ย 36,345.45 บาท และรายได้รวมเฉลี่ย 98,362.26 บาทต่อปีต่อครัวเรือน สภาพพื้นที่ การเกษตรส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ราบลุ่มทุ่งกว้าง ดินร่วนปนทราย อาศัยน้ำฝนอย่างเดียว เกษตรกรมีเจตคติที่ดีต่อการผลิตข้าวหอมมะลิอินทรีย์เจตคติที่เห็นด้วยต่อหลักการผลิตข้าวหอม มะลิอินทรีย์ในระดับที่เห็นด้วยมากที่สุด คือ การปรับปรุงบำรุงดิน การขัดการตอซัง ความยังยืนและรายได้ หลักการเกษตรอินทรีย์และวัชพืชเป็นอุปสรรคต่อการผลิตข้าวหอมมะลิอินทรีย์ ส่วนระดับที่เห็นด้วยมาก คือ เจต คติต่อการตลาด ระดับเจตคติของเกษตรกรที่มีต่อการผลิตข้าวหอมมะลิอินทรีย์สูงสุดคือ การปรับปรุงบำรุงดิน โดยการปลูกพืชตระกูลถั่วต้องไถกลบระยะออกดอกจะได้ปริมาณทุ่ยมาก โดยมีระดับการเห็นด้วยมากที่สุด ระดับของการปฏิบัติตามหลักการผลิตข้าวหอมมะลิอินทรีย์ของเกษตรกรส่วนมากปฏิบัติตามทุกปี ยกเว้น การปรับปรุงบำรุงดิน การทดสอบเมล็ดพันธุ เกษตรกรปฏิบัติตามเป็นบางปี และวิธีการปลูก การจัดการ แมลงศัตรูพืช เกษตรกรไม่ปฏิบัติตาม | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2006.84 | - |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | ข้าวหอมมะลิ--การผลิต | th_TH |
dc.subject | เกษตรกร--ไทย--ร้อยเอ็ด | th_TH |
dc.subject | ข้าวอินทรีย์--การผลิต | th_TH |
dc.title | การผลิตข้าวหอมมะลิอินทรีย์ของเกษตรกรในอำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด | th_TH |
dc.title.alternative | Organic Hom Mali rice production by farmers in Kasetwisai District, Roi Et Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2006.84 | - |
dc.degree.name | เกษตรศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
Appears in Collections: | Agri-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
109994.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 4 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License