Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9897
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจินดา ขลิบทอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสมจิต โยธะคง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสมบูรณ์ เนียมแตง, 2509--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-10-04T04:31:52Z-
dc.date.available2023-10-04T04:31:52Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9897-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2549th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่ยศึกษา (1) สภาพทางสังคมและเศรษฐกิจของสมาชิกกลุ่ม เกษตรกรผู้ปลูกข้าวในจังหวัดปทุมธานี (2) ระดับ การยอมรับต่อโครงการเกษตรอินทรีย์ของสมาชิกกลุ่มมเกษตรกร ผู้ปลูกข้าวในจังหวัดปทุมธานี (3) ปัญหาและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับขั้นตอนในการปฏิบัติและความรู้ความเข้าใจ ด้านต่างๆ ของโครงการเกษตรอินทรีย์ ผลการวิจัยพบว่า เกษตรกรมีอายุเฉลี่ย 45 ปี แรงงานในครัวเรือนเฉลี่ย 2.16 คน พื่นที่ทำการเกษตรเป็นของตนเอง รัอยละ 51.3 ประสบการณ์ในการทำการเกษตรอินทรีย์ ส่วนใหญ่ ท้าการเกษตรอินทรีย์เกี่ยวกับการปลูกข้าว รัอยถะ 70.5 ประเภทของปุ๋ยที่นิยมใชัหลายชนิดรวมกันร้อยละ 46.9 รายได้ภาคการเกษตร ได้แก่ รายได้การทำนาเฉลี่ย 167,200 บาท ท้าสวนเฉลี่ย 11,360.76 บาทและรายได้จาก ทำไร่ 1 ราย รายได้ 250,000 บาท เกษตรกรส่วนใหญ่มีความเห็นว่า การทำการเกษตรอินทรีย์มีประโยชน์ไน ระดับปานกลาง โดยแหล่งเงินทุนในการทำการเกษตรมากกว่าครึ่งหนึ่ง มาจากหลายแหล่งรวมกัน ที่เหลือใช้ทุน ตัวเองและทุนจากการกู้ยืม หรือทุนสนับสมุนการทำการเกษตรอินทรีย์ สมาชิกกลุ่มเกษตรกรส่วนใหญ่ยอมรับ เทคโนโลยีเกษตรอินทรีย์ไปปฏิบัติ ด้านการเลือกพื้นที่เพาะปลูกที่ไม่ใช้สารเคมีในปริมาณมาก ร้อยละ 79.7 ทั้นที่ดีนมีความอุดมสมบูรณ์ ร้อยละ 71.5 ด้านการเตรียมเมล็ดพันธุ์ที่เก็บรักษาโดยไม่ใช้สารเคมี ร้อยละ 96.2 การใข้เมล็ดพันธุ์ที่ได้มาตรฐานการผลิตจากแปลงผลิตเมล็ดพันธุ์ปฏิบัติร้อยละ 34.8 ด้านการจัดการดินการไม่เผา ตอชังฟางข้าวในแปลงนาเกษตรกรนำไปปฏิบัติทั้งหมด และการนำดินไปวิเคราะห์เพื่อหาความเหมาะสม ในการเจริญเติบโต ปฏิบัติร้อยละ 96.2 การใช้ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมักและปุ๋ยพืชสดปฏิบัติร้อยละ 93.7 ด้านการป้องกันกำจัดศัตรูพืช การปลูกพืชหมุนเวียนเพื่อตัดวงจรของแมลง และศัตรูพืชปฏิบัติ ร้อยละ 95.6 การไม่ใช้สารเคมี ในการทำจัดโรคและแมลงร้อยละ 60.8 ยกเว้นไม่ยอมรับการใข้เมล็ดพันธุ์ที่ได้มาตรฐานที่ผลิตจากแปลงผลิตเมล็ด พันธุ์ข้าว ส่วนของปัญหา ได้แก่การขาดความรู้ในการผลิต และการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ข้าวไว้ไช้เมล็ดพันธุ์ข้าว มีราคาแพง ปัญหาด้านวัตถุดิบที่ใช้ในการทำปุ๋ยอินทรีย์ ด้านขั้นตอนและวิธีการปฏิบัติตามโครงการฯ ดังนั้นจึงควรกำหนดแนวทางการส่งเสริมการฝึกอบรมให้ความรู้ด้านการผลิต และการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์อย่างถูกวิธี ใน การอบรมเกษตรอินทรีย์ควรชี้ให้เห็นถึงประโยชน์การทำเกษตรอินทรีย์อย่างชัดเจน และควรส่งเสริมให้เกษตรกร มีการทำปุ๋ยอินทรีย์ให้มากขึ้น ควรส่งเสริมการรวมกลุ่มแบบมีส่วนร่วม สร้างองค์กรกลุ่มที่เข้มแข็ง และยั่งยืนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2006.3-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectโครงการเกษตรอินทรีย์th_TH
dc.subjectเกษตรอินทรีย์--ไทย--ปทุมธานีth_TH
dc.subjectเกษตรอินทรีย์--แง่เศรษฐกิจth_TH
dc.subjectเกษตรอินทรีย์--แง่สังคมth_TH
dc.subjectเกษตรกร--ไทย--ปทุมธานีth_TH
dc.titleการยอมรับต่อโครงการเกษตรอินทรีย์ของสมาชิกกลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกข้าวในจังหวัดปทุมธานีth_TH
dc.title.alternativeAn adoption of the organic agricultural project by rice farmer[s]' group member in Pathum Thani Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2006.3-
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
110137.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.84 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons