Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9898
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบำเพ็ญ เขียวหวาน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorพรทิพย์ อุดมสิน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorปราโมทย์ เข็มขาว, 2504--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-10-04T06:48:03Z-
dc.date.available2023-10-04T06:48:03Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9898-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2549th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรในระดับอำเภอของภาค ตะวันตก ดังนี้ 1) สภาพทางสังคมและเศรษฐกิจ 2) ความคดเห็นเกี่ยวกับแนวทางการปฎิบัติในการถ่ายโอน ภารกิจของกรมส่งเสริมการเกษตรให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) และ 3) ปัญหาและข้อเสนอแนะ เกี่ยวกับแนวทางการปฏิบัติในการถ่ายโอนภารกิจ ผลการวิจัย พบว่า 1) เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อาอุเฉลี่ย 45.3611 ส่วนใหญ่มีสถานภาพสมรสแล้วจบการศึกษาระดับปรัญญาตรี ระยะเวลารับราชการเฉลี่ย 21.05 ปีมีรายได้เฉลี่ย 23,345.28 บาท/เดือน ส่วนใหญ่ดำรงตำแหน่งนักวิชาการส่งเสริมการเกษตร มีจำนวนตำบลรับผิดชอบ เฉลี่ย 1.91 ตำบล ส่วนใหญ่บ้านพักไม่ตั้งอยู่ในพื้นที่ตำบลใดตำบลหนึ่งในพื้นที่รับผิดชอบ ระยะเวลาการเป็นคณะกรรมการ ศูนย์บริการและก่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล เฉลี่ย 6.41 ปี และเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรได้รับการฝึกอบรมเกี่ยวกับการถ่ายโอนภารกิจ เฉลี่ย 1.33 ครั้ง 2) ความคิดเห็นของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร เกี่ยวกับแนวทางการปฏิบัติในการถ่ายโอนภารกิจของกรมส่งเสริมการเกษตรให้กับ อปท.จำนวน 9 ภารกิจ เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรมีความเห็นด้วยในระดับมาก 4 ภารกิจ โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย คือ (1) การบริการข้อมูลและการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ (2) การสำรวจข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการเกษตร (3) การจัดทำ แผนพัฒนาการเกษตรระดับตำบล และ (4) ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรระดับตำบล และ เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรเห็นด้วยในระดับปานกลาง 5 ภารกิจ 3) ปัญหาที่เกี่ยวกับภารกิจที่ถ่ายโอนให้กับ อปท. พบว่า เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรเกือบครึ่งประสบปัญหาในเรื่อง การสำรวจข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ การเกษตร ปัญหาเกี่ยวกับนโยบายและการประสานงานกับ อปท. ในการถ่ายโอนภารกิจ พบว่า เจ้าหน้าที่ ส่งเสริมการเกษตรเกินกว่าหนึ่งในสาม ประสบปัญหาในเรื่อง การนำภารกิจไปปฏิบัติเพื่อให้บริการที่เกิดประโยชน์แก่ประชาชนในท้องถิ่นของ อปท. และ เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรเกือบทุกคนเสนอว่า ควรมีการ ประชุมร่วมกันระหว่าง อปท.กับเจ้าหน้าที่กรม และเจ้าหน้าที่ส่งเสรัมการเกษตรส่วนใหญ่ เสนอว่า ควรระบุ งบประมาณที่ถ่ายโอนให้กับ อปทth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2006.278-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectกรมส่งเสริมการเกษตร--ข้าราชการและพนักงาน--ทัศนคติth_TH
dc.subjectกรมส่งเสริมการเกษตร--การบริหารth_TH
dc.titleความคิดเห็นของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรระดับอำเภอในภาคตะวันตกเกี่ยวกับแนวทางการปฏิบัติในการถ่ายโอนภารกิจของกรมส่งเสริมการเกษตรให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นth_TH
dc.title.alternativeOpinions of the district agricultural extension officers in western region toward operational methods in task transfer from The Agricultural Extension Department to local government organizationen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2006.278-
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
110173.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.49 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons