Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9976
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปธาน สุวรรณมงคล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพิชัย จันทร์ชนะ, 2497--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-10-18T08:11:50Z-
dc.date.available2023-10-18T08:11:50Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9976-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาปัญหาอุปสรรคในการถ่ายโอนโรงเรียนจากสังกัด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เข้ามาสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลลาดสวาย อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี (2) เสนอแนะแนวทางการแก้ปัญหาอุปสรรคในการถ่ายโอนโรงเรียนจากสังกัดสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานเข้ามาสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลลาดสวาย ผลการวจัยพบว่า (1) ปัญหาอุปสรรคในการถ่ายโอนโรงเรียนเกิดจากปัจจัยภายนอกองค์การบริหาร ส่วนตำบลลาดสวาย ได้แก่ หน่วยงานเจ้าของภารกิจที่จะถ่ายโอนบุคลากรทางการศึกษา และครูเกรงว่าจะตกเป็น เครื่องมือของนักการเมืองท้องถิ่น เสียสิทธิประโยชน์ที่เคยมีอยู่ การเลื่อนวิทยฐานะจะถูกยกเสิก การเรียนการสอน จะไม่ประสบผลเหมือนในอดีต และขาดการประชาสัมพันธ์เพื่อให้เกิดความเข้าใจตรงกันไม่รู้แจ้งผลดีผลเสีย ประกอบการตัดสินใจ ปัญหาอุปสรรคที่เกิดจากปัจจัยภายในองค์การบริหารส่วนตำบลลาดสวาย ได้แก่ ขาด ความพร้อมที่จะรองรับสถานศึกษา และบุคลากรขาดการจัดเตรียมกลุ่มงานหลัก วลัยทัศน์ของผู้บริหารองค์การ บริหารส่วนตำบลลาดสวายอยู่ในระดับตำ ส่วนใหญ่มุ่งพัฒนาเฉพาะโครงสรัางพื้นฐานงบประมาณที่จะตั้งไว้เพื่อ การดำเนินด้านการศึกษาไม่เพียงพอ การสรรหาบุคลากรด้านการศึกษาจะต้องผูกพันกับระบบอุปถัมภ์ ไม่ได้เข้า มาสู่ตำแหน่งโดยระบบคุณธรรม และความสามารถอย่างแท้จริง เป็นผลให้ประสิทธิภาพการเรียนการสอนไม่ ได้ผลเท่าที่ควร (2) ข้อเสนอแนะ คือ ยังไม่ควรมีการถ่ายโอนภารกิจด้านการศึกษาไปจากกระทรวงศึกษาธิการ ในทางกลับกันควรโอนภารกิจด้านการศึกษาที่หน่วยงานชื่นๆ ได้จัดการดูแลอยู่กลับคืนให้กระทรวงศึกษาธิการ เพื่อไม่ให้กระจัดกระจาย เกิดความเป็นเอกภาพและสอดคล้องในการควบคุมมาตรฐาน ง่ายต่อการบริหารจัดการ และหากจะมีการถ่ายโอนการศึกษาจากสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ มาให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ประสงค์จะรับโอนสถานศึกษามาอยู่ในความดูแล ควรเป็นเป้าหมายสุดท้ายและกระทรวงมหาดไทยโดยกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นต้องปรับปรูงให้องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละแห่งให้เกิดความพร้อมเสียก่อน ทั้งจำนวนบุคลากรทางการศึกษาในแต่ละกลุ่มงานth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectองค์การบริหารส่วนตำบลลาดสวายth_TH
dc.subjectการศึกษาขั้นพื้นฐาน--ไทย--ปทุมธานีth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--รัฐศาสตร์th_TH
dc.titleปัญหา อุปสรรคการถ่ายโอนภารกิจด้านการศึกษาจากสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น : ศึกษากรณีองค์การบริหารส่วนตำบลลาดสวาย อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานีth_TH
dc.title.alternativeThe problems of educational transferred from the Office of the Basic Education to the Local Authorities : a case study of Lat Swai Sub-district Administrative Organization, Lam Luk ka District, Pathumtani Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Pol-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
129495.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.78 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons