Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/997
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorฐปนรรต พรหมอินทร์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorจุมพล หนิมพานิช, อาจารย์ที่ปรึกษth_TH
dc.contributor.authorไทย สุพานิชวรภาชน์, 2494--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-25T06:54:06Z-
dc.date.available2022-08-25T06:54:06Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/997-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม. (การเมืองการปกครอง))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2549th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึง (1) นโยบายและแนวทางในการแปรรูปการประปานครหลวง (2) ปัญหาและอุปสรรคการแปรรูปการประปานครหลวง และ (3) ผลกระทบทางการเมืองและผลกระทบต่อประชาชนและพนักงานจากการแปรรูปดังกล่าว โดยใช้การวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากข้อมูลเอกสารต่างๆ การสัมภาษณ์เชิงลึก การรับฟังความคิดเห็นของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง และจากประสบการณ์ของผู้วิจัย ผลการวิจัยสรุปได้ว่า (1) การแปรรูปการประปานครหลวง เป็นการดำเนินการตาม นโยบายการแปรรูปรัฐวิสาหกิจของรัฐบาลภายใต้บทบัญญัติของพระราชบัญญัติทุนรัฐวิสาหกิจ พ.ศ.2542 (2) ปัญหาการดำเนินการที่ขาดธรรมาภิบาลในการกำหนดนโยบายและปัญหาด้านกฎหมาย ทั้งการขัดต่อหลักการทางนิติบัญญัติและความไม่สมบูรณ์ของพระราชบัญญัติทุนรัฐวิสาหกิจ พ.ศ.2542และ (3) ผลกระทบต่อประชาชนและพนักงานของการประปานครหลวง โดยที่ประชาชนได้รับบรัการที่ไม่เป็นธรรม และมีความวิตกต่อราคาค่านํ้าประปา คุณภาพของการให้บริการ และการบริการ ที่ไม่ทั่วถึง ส่วนพนักงานมีความรู้สึกไม่มั่นคงในสถานภาพภายหลังการแปลงสภาพเป็นพนักงานบริษัทแล้ว ปัญหาเหล่านี้ได้ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงและเสถียรภาพของรัฐบาลในที่สุด และมีข้อเสนอแนะว่า ควรส่งเสริมการใช้หลักธรรมาภิบาล ทั้งในระดับนโยบายและในระดับปฏิบัติ ตั้งแต่การกำหนดนโยบายจนถึงการนำนโยบายไปปฏิบัติ การจัดเวทีรับฟังความคิดเห็นของประชาซนควรดำเนินการไปด้วยความโปร่งใสและยึดประโยชน์ของส่วนรวมเป็นที่ตั้ง และควรใช้การประชาสัมพันธ์เพื่อสรัางความเข้าใจร่วมกันเกี่ยวกับนโยบายการแปรรูปรัฐวิสาหกิจอย่างเป็นระบบและเชื่อถึอได้th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2006.10en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการประปานครหลวงth_TH
dc.subjectการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ -- ไทยth_TH
dc.titleผลกระทบของการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ : ศึกษากรณีการประปานครหลวงth_TH
dc.title.alternativeAn impact of state enterprise privatization : a case study of Metropolitan Waterworks Authority (MWA)th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2006.10en_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study (1) the policy and method of the privatization of Metropolitan Waterworks Authority (MWA), (2) the problems of and obstacles to the privatization of MWA, and (3) political and social impact of the privatization of MWA. The indepth interview and opinion hearing from those related as well as the researcher's experience were used for data analysis. This research revealed that (1) the privatization of MWA was the process under the provision of the act of legislation state fund 2542 B.E. (2) The problems of the process resulted from the lack of good governance in the policy formulation. Regarding the legal problem, it did not comply with the principle of legislation and the groups: the public and the staff act of legislation state fund 2542 B.E. was incomplete. (3) This privatization caused two major impacts. First, for the public, they received unfair service and were worried about the cost of water, quality and availability of service. Second, for the staff of MWA, they felt unsecured with the change. These problems eventually affected the government’s security and stability. To solve the problems, the good governance should be encouraged to set up both at a policy level and an operational level. Setting up the stage for public hearing with transparency and concern to the public optimal advantage should be enhanced as well as the systematic and reliable use of public relations to create the mutual understanding of the privatization of MWA policy.en_US
Appears in Collections:Pol-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib99126.pdfเอกสารฉบับเต็ม4 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons