Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1000
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorฐปนรรต พรหมอินทร์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorยุทธพร อิสรชัย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุจิตรา หังสพฤกษ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorธวัช แก้วจินดา, 2510--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-25T07:24:34Z-
dc.date.available2022-08-25T07:24:34Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1000-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม. (การเมืองการปกครอง))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) นโยบายโครงการกองทุนหมู่บ้านและ ชุมชนเมือง กรณีศึกษาอำเภอพาน จังหวัดเชียงราย (2) ผลการดำเนินงานตามนโยบายโครงการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง กรณีศึกษาอำเภอพาน จังหวัดเชียงราย (3) ผลกระทบจากการดำเนินงานตามนโยบายโครงการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองในด้านเศรษรกิจ สังคมและการเมืองกรณีศึกษาอำเภอพาน จังหวัดเชียงราย (4) ปัญหาอุปสรรคและแนวทางแก้ไชปัญหาในการดำเนินงานตามนโยบายโครงการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง กรณีศึกษาอำเภอพาน จังหวัดเชียงราย ในการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงประมาฌ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถาม และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ในการวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้วิธิการสุ่มอย่างง่าย จากกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองในเขตอำเภอพาน จำนวน 229 กองทุน ๆ ละ 2 ราย ได้แก่ ประธานหรือคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน รวมเป็นกลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 458 ราย ประกอบด้วย ประธานกองทุนหมู่บ้าน และคณะกรรมการกองทุน สมาชิกกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง ผลการศึกษาพบว่า (1) นโยบายโครงการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง โดยภาพรวมกลุ่มตัวอย่างเห็นด้วยในระดับมากที่สุด (2) ผลการดำเนินงานตามนโยบายโครงการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองโดยภาพรวม การบรรลุเป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของโครงการประสบผลสำเร็จอยู่ในระดับมากที่สุด (3) ผลกระทบการดำเนินงานตามนโยบายโครงการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง โดยภาพรวมมีผลกระทบในระดับมากที่สุดไม่ว่าจะเป็นผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง (4) ปัญหาอุปสรรคและแนวทางแก้ไขในการดำเนินงานตามนโยนายกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองส่วนใหญ่ประสบปัญหาคณะกรรมการกองทุนขาดความรู้ความเข้าใจในการจัดทำบัญชีเอกสาร และรายงานประจำปี โดยแนวทางการแก้ไขปัญหา ได้แก่ ให้ภาครัฐควรจัดหาบุคลากรที่ปฏิบัติหน้าที่ให้คำแนะนำช่วยเหลือคณะกรรมการกองทุน ในการจัดทำบัญชีเอกสาร และรายงานต่าง ๆth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectโครงการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง -- การประเมินth_TH
dc.subjectโครงการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองth_TH
dc.subjectกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง -- ไทย -- เชียงราย -- การบริหารth_TH
dc.titleการดำเนินงานตามนโยบายโครงการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองกรณีศึกษาอำเภอพาน จังหวัดเชียงรายth_TH
dc.title.alternativeImplementation of the Urban community and village fund policy a case study of phan district] chiang Rai Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study: (1) the implementation of the Urban Community and Village Fund policy in Phan District, Chiang Rai Province; (2) the results of the implementation of the Urban Community and Village Fund policy; (3) the economic, social, and political impact of the Urban Community and Village Fund policy; and (4) problems with the implementation of the Urban Community and Village Fund policy and possible solutions. This was a quantitative study. Data were collected using questionnaires and statistically analyzed using frequencies, percentages, arithmetic means and standard deviation. A simple random method was used to select the sample, which consisted of 2 people, either chairmen or committee members, from each of the 229 Urban Community and Village Funds in Phan District, for a total of 458 samples. Research findings were as follows: (1) Overall, the sample approved of the Urban Community and Village Fund policy at the highest level. (2) The majority of the sample felt that the results of the Urban Community and Village Fund policy showed it had achieved a high level of success in meeting its goals. (3) The sample reported that the Urban Community and Village Fund policy had the highest level of impact in terms of political, social, and economic impact. (4) The main problems with implementation of the Urban Community and Village Fund policy was that committee members lacked knowledge about accounting, documents, and the annual report process. The suggestion to solve this problem is to have the government provide support personnel who could advise the fund committees on these proceduresen_US
Appears in Collections:Pol-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib118315.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.36 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons