Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10011
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิตติพงษ์ เกียรติวัชรชัย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorภาสกร ใจการ, 2525--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-10-25T04:03:04Z-
dc.date.available2023-10-25T04:03:04Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10011-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับการมีส่วนร่วม ในการจัดการขยะมูลฝอยและขยะติดเชื้อของชุมชน ในเขตพื้นที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลเวียง อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ (2) เปรียบเทียบระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการปัญหาขยะมูลฝอยและขยะติดเชื้อของชุมชน ในเขตพื้นที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลเวียง อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ที่แตกต่างกัน จำแนกตามปัจขัย ส่วนบุคคลที่แตกต่างกัน (3) เปรียบเทียบระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการปัญหาขยะมูลฝอยและขยะติด เชื้อ ในเขตพื้นที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลเวียง อำเภอฝาง ขังหวัดเชียงใหม่ที่แตกต่างกัน จำแนกตามวัฒนธรรมที่ แตกต่างกัน (4) เปรียบเทียบระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการปัญหาขยะมูลฝอยและขยะติดเชื้อ ในเขตพื้นที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลเวียง อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ที่แตกต่างกัน จำแนกตามภาวะผู้นำที่แตกต่างกัน (5) ศึกษาแนวทางการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการจัดการปัญหาขยะมูลฝอยและขยะติดเชื้อ ในเขตพื้นที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลเวียง อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ ผลการศึกษาพบว่า (1) ประชาชนในตำบลเวียง มีความรูความเข้าใจ ด้านการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการขยะมูลฝอยและขยะติดเชื้อ อยู่ในระดับมาก (2) ผลการเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมในการจัดการปัญหาขยะมูล ฝอยและขยะติดเชื้อ จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลที่แตกต่างกัน พบว่า การศึกษา และรายได้ ที่แตกต่างกันมีความรู้ความเข้าใจที่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติน้อยกว่า 0.05 (3) ผลเปรียบเทียบระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการ จัดการปัญหาขยะมูลฝอยและขยะติดเชื้อ ที่แตกต่างกัน จำแนกตามวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน มีความรู้ความเข้าใจที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติน้อยกว่า 0.05 (4) ผลการเปรียบเทียบระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการปัญหาขยะมูลฝอยและขยะติดเชื้อที่แตกต่างกัน จำแนกตามภาวะผู้นำที่แตกต่างกันมีความรู้ความเข้าใจที่แตกต่างกันอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติน้อยกว่า 0.05 (5) ผลการศึกษาแนวทางการพัฒนาระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการ ปัญหาขยะมูลฝอยและขยะติดเชื้อ ที่แตกต่างกัน จำแนกตาม วัฒนธรรมชุมชน และภาวะผู้นำ ที่แตกต่างกันมีความรู้ความ เข้าใจที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติน้อยกว่า 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectขยะ--การจัดการ--การมีส่วนร่วมของประชาชน--ไทย--เชียงใหม่th_TH
dc.subjectขยะติดเชื้อ--การจัดการ.th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleการมีส่วนร่วมของประชาชนกับการจัดการขยะมูลฝอยและขยะติดเชื้อในชุมชน ภายใต้สถานการณ์โรคระบาดโควิด-19 กรณีศึกษาเขตพื้นที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลเวียง อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่th_TH
dc.title.alternativeCommunity participation in solid waste and infectious waste management under the Covid-19 pandemic case study: area of Wiang Subdistrict Administrative Organization, Fang District, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study aims to (1) study the level of participation; In the management of solid waste and infectious waste of the community. In the administrative area of Wiang Subdistrict, Fang District, Chiang Mai Province (2) compare the level of public participation in the management of solid waste and infectious waste of communities. In the area of Wiang Subdistrict Administrative Organization, Fang District, Chiang Mai Province. (3) compare the level of public participation in the management of solid waste and infectious waste issues. (4) compare the level of public participation in the management of solid waste and infectious waste. In the area of Wiang Subdistrict Administrative Organization, Fang District, Chiang Mai Province. (5) study approaches to developing public engagement. In the management of solid waste and infectious waste. In the administrative area of Wiang Subdistrict, Fang District, Chiang Mai Province. This study is mixed methods study combines quantitative and qualitative datacollection and analysis in one study. The population studied was the people who voted in Wiang Subdistrict, total 10,829 people. A sample of 385 people was identified with the Taroyamane formula, with proportional randomization, and interviews with stakeholders of the Vieng Subdistrict Administration. The statistics used to analyze the data are divided into 2 parts: descriptive statistics to determine the frequency, percentage, average, standard deviation. Inferential statistics include T-Test and one-way anova analysis. The results showed that (1) the people of Wiang subdistrict had knowledge and understanding; (2) The results of comparing participation in the management of solid waste and infectious waste. Classified according to different personal factors. It was found that different education and income have different knowledge and understanding. Statistically significantly less than 0.05 (3) the results compared the levels of public participation in the management of solid waste and infectious waste issues, classified according to different cultures. There are different understandings. Statistically significantly less than 0.05 (4) the results compared the levels of public participation in the management of solid waste and infectious waste issues, classified according to different leadership positions, with statistically significant differences of understanding less than 0.05 (5) The results of the study of guidelines for improving the level of public participation in the management of solid waste and infectious waste problems are classified accordingly. Different people have statistically significant differences in understanding of less than 0.05.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม18.7 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons