กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10013
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorจีระ ประทีป, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorเสน่ห์ จุ้ยโต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorชฎากาญจน์ ชาลีรัตน์-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-10-26T02:59:43Z-
dc.date.available2023-10-26T02:59:43Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10013-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี่มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาสภาพแวดล้อมของการบริหารการป้องกัน และรักษาโรคไข้เลือดออกสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสระบุรี (2) เพื่อเสนอยุทธศาสตร์การบริหาร การป้องกันและรักษาโรคไข้เลือดออกของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสระบุรี รูปแบบการวิจัยครั้งนี่ เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ทำการศึกษาได้แก่ บุคลากร ที่รับผิดชอบงานด้านโรคติดต่อในจังหวัดสระบุรี จำนวน 179 คน จำแนกเป็นบุคลากรจาก สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสระบุรี จำนวน 2 คน สถานีอนามัยทุกแห่งในจังหวัดสระบุรี 126 แห่ง จำนวน 126 คนสำนักงานสาธารณสุขอำเภอ 13 อำเภอจำนวน 13 คน โรงพยาบาล 12 แห่ง จำนวน 12 คน สำนักงานเทศบาลในจังหวัดสระบุรี 26 แห่ง จำนวน 26 คน ศึกษาวิจัยจากประชากร ทั้งหมด เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามปลายเปิด และแบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ความถี่ ร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า (1) สภาพแวดล้อมการบริหารการป้องกันและรักษาโรคไข้เลือดออก ของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสระบุรี มีจุดแข็งคือ มีคณะทำงานที่เข้มแข็ง สำหรับจุดอ่อนยังไม่มีการจัดทำยุทธศาสตร์การป้องกันและรักษาโรคไข้เลือดออก ด้านโอกาส มีเครือข่ายภาค ประชาชนที่เข้มแข็ง แต่มีข้อจำกัดที่ประชาชนไม่เห็นความสำคัญในการป้องกันโรค (2) ข้อเสนอ ยุทธศาสตร์การบริหารการป้องกันและรักษาโรคไข้เลือดออก ประกอบด้วยยุทธศาสตร์ 6 ยุทธศาสตร์ ดังนี้ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การบริหารจัดการแบบบุรณาการ ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารเทคโนโลยีสารสนเทศ ยุทธศาสตร์ที่ 3 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนทุกภาคส่วน ยุทธศาสตร์ที่ 4 ส่งเสริมการจัดสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาการวินิจฉัยและส่งต่อ ยุทธศาสตร์ที่ 6 เสริมสร้างระบบเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคในชุมชน วัค และโรงเรียนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.167-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectไข้เลือดออก--การป้องกันและควบคุมth_TH
dc.subjectไข้เลือดออก--การรักษาth_TH
dc.titleยุทธศาสตร์การบริหารการป้องกันและรักษาโรคไข้เลือดออก ศึกษากรณีสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสระบุรีth_TH
dc.title.alternativeStrategies for administration of prevention and curation of hemorrhagic fever disease : a case study of Saraburi Provincial Public Health Officeth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2007.167-
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were 1) to study the environment prevent and curation of Hemorrhagic Fever Disease of Saraburi Provincial Public Health Office 2) to purposes strategies for administration of prevention and curation of Hemorrhagic Fever Disease of Saraburi Provincial Public Health Office. The methodology used in this research was survey. The population comprised 179 public health officials in charge of the epidemic in Saraburi. Those were 2 officials of Saraburi Provincial Health Official, 126 officials of 126 public health centers in Saraburi, 13 officials from the district health offices, 13 officials of 12 hospitals and 26 officials from 26 municipalities in Saraburi.. The research tools used in this study were the open ended questionnaire and the in depth-structured interview. The statistics used for analyzing data were frequency and percentage. The study shows that environment prevention and curation of Hemorrhagic Fever Disease of Saraburi Provincial Public Health Office (1) Saraburi Provincial Health Office had strong point of high efficiency pask force however, it had a weak point of lacking strategies for administration and curation of the Hemorrhagic Fever Disease. On the side of opportunity, it had a strong civilian network, nevertheless, the treat was that people neglect to the importance of prevention of the Hemorrhagic Fever Disease, (2) The strategies proposed were: strategies one integration-oriented management, strategies two development of information technology system, strategies three promotion of participation among all sectors of people, strategies four of environment for preventing and controlling the Hemorrhagic Fever, strategies five development of the Hemorrhagic Fever Disease diagnosis and referring of and strategies six creation of the Hemorrhagic Fever Disease monitoring system in community, temples and schools.en_US
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Manage-Theses

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
108609.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.24 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons