Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10019
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเฉลิมศักดิ์ ตุ้มหิรัญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorจินดา ขลิบทอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorภูมิศักดิ์ ราศรี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนพดล ศรีพันธุ์, 2515--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-10-26T03:44:48Z-
dc.date.available2023-10-26T03:44:48Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10019-
dc.descriptionดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.(เกษตรศาสตร์และสหกรณ์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2564th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) การผลิตมะขามเปรี้ยวเชิงธุรกิจของเกษตรกร 2) ต้นทุนและผลตอบแทนทางการเงินในการลงทุนปลูกมะขามเปรี้ยว 3) การได้รับและความต้องการในการส่งเสริมการผลิตมะขามเปรี้ยวของเกษตรกร 4) การพัฒนาโมเดลการส่งเสริมการผลิตมะขามเปรี้ยวเชิงธุรกิจ และ 5) ประเมินโมเดลการส่งเสริมการผลิตมะขามเปรี้ยวเชิงธุรกิจ การวิจัยแบบผสมผสาน กลุ่มตัวอย่างในการศึกษามี 3 กลุ่ม ได้แก่ 1) เกษตรกรผู้ผลิตมะขามเปรี้ยว จํานวน 193 คน 2) ตัวแทนที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมการผลิตมะขามเปรี้ยวเชิงธุรกิจ จำนวน 11 คน 3) ผู้เชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมการผลิตมะขามเปรี้ยวเชิงธุรกิจ จํานวน 9 คน เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ การวิเคราะห์ปัจจัย และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) การผลิตของเกษตรกรส่วนใหญ่ มีพื้นที่ปลูกเฉลี่ย 7.06 ไร่ อายุเฉลี่ย 10.09 ปี พันธุ์ที่ใช้เป็นพันธุ์กระดาน ใช้กิ่งตอน ระยะปลูก 8x8 เมตร 2) เกษตรกรมีต้นทุนผันแปรด้านการเก็บเกี่ยวผลผลิตมีต้นทุนค่อนข้างสูง เนื่องจากยังไม่มีเทคโนโลยีที่เหมาะสมแทนการใช้แรงงานคน โดยต้นทุนการผลิตรวมเฉลี่ย เท่ากับ 11,023.83 บาทต่อไร่ รายได้จากการจําหน่าย ฝักดิบ ฝักสุก แปรรูปมะขามแช่อิ่ม แปรรูปมะขามเปียกเฉลี่ย 24,364.03 บาทต่อไร่ วิเคราะห์ความเป็นไปได้ในการลงทุนปลูกมะขามเปรี้ยว พบว่ามูลค่าปัจจุบันสุทธิ มีค่าเท่ากับ 13,340.20 บาท อัตราผลตอบแทนต่อต้นทุน 2.21 อัตราผลตอบแทนภายในการลงทุน ร้อยละ 21.01 3) เกษตรกรต้องการการส่งเสริมในด้านความรู้เพิ่มเติมจากเดิมเป็นระดับมากที่สุดในทุกด้านของกระบวนการผลิตมะขามเปรี้ยว จากสื่อบุคคลที่เป็นราชการ สื่อสิ่งพิมพ์ที่เป็นคู่มือสื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นสื่อยูทูป และมีระดับความต้องการวิธีการส่งเสริมการผลิตมะขามเปรี้ยวด้วยวิธีการส่งเสริมแบบอบรมเชิงปฏิบัติการ 4) โมเดลการส่งเสริมการผลิตมะขามเปรี้ยวเชิงธุรกิจ ประกอบด้วย Sender Message Channel Methods Receiver (SMCMR Model) ตามแนวคิดการบริหารงานที่มุ่งผลสัมฤทธิ์ และ 5) ผลการประเมินโมเดลอยู่ในระดับมาก ในด้านความสอดคล้องกับบริบท ด้านความเป็นได้ในการนําไปปฏิบัติด้านความเหมาะสม และด้านการนําไปใช้ประโยชน์ได้จริงth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมะขามเปรี้ยว--การผลิตth_TH
dc.titleโมเดลการส่งเสริมการผลิตมะขามเปรี้ยวเชิงธุรกิจth_TH
dc.title.alternativeThe extension model of sour tamarind production for businessen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study 1) sour tamarind production for commercial of the farmers 2) cost and return on investment in sour tamarind cultivation 3) the extension gained and need for sour tamarind production of the farmers 4) the development of extension model for commercial sour tamarind production and 5) the evaluation of the extension model for commercial sour tamarind production. This research was mixed methods research. The sample groups were divided into 3 groups: 1) 373 sour tamarind growers; 2) 11 representatives who were related to the extension in commercial sour tamarind production; 3) 9 experts who were related to the extension in commercial sour tamarind production. The interview questions were used. Data were analyzed by using descriptive analysis, t-test, multiple regression analysis, factor analysis and content analysis. The results showed that 1) most of the farmers production with the average farm size for tamarind production was 7.06 Rai. The average age of sour tamarind tree was 10.09 years. Most of the farmers grew tamarind cultivar Kradan by using grafted tamarind tree with 8 8 m spacing.2) The variable cost regarding harvest was rather high because of no appropriate technology in substitution of human labor. The average total cost of production was 11,023.83baht/rai.The average income from selling ripe and unripe pods, preserved tamarind in syrup and tamarind paste was 24,364.03 baht/rai. The analysis on the possibility of investment in sour tamarind production revealed that the net present value was 13,340.20 baht,benefit/cost ratio was 2.21 and the rate of return on investment was 121.01%. 3) For the extension needs for agro-commercial sour tamarind production, the farmers wanted to gain the additional knowledge at the highest level in every aspect of sour tamarind production from personal media who were officials, publication media in the form of manual and electronic media in the form of YouTube media. The level of extension method needed for sour tamarind production was a training workshop method.4) The extension model for commercial sour tamarind production comprised the process of Sender, Message, Channel, Methods, and Receiver (SMCMR Model) by using results based on management concept. 5) For model evaluation results, the opinions from related parties were at the highest level on the possibility for the adoption into practice, the appropriateness, and the adoption for actual benefitsen_US
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
168830.pdfเอกสารฉบับเต็ม22.62 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons