Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10046
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสินีนุช ครุฑเมือง แสนเสริม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorบำเพ็ญ เขียวหวาน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุรพล เศษฐบุตร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorฟ้าวริณยา สูงขาว, 2524--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-10-27T02:24:42Z-
dc.date.available2023-10-27T02:24:42Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10046-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัญหา ความต้องการในการดำเนินชีวิต ประเมินทักษะชีวิต และความสุขของเกษตรกร 2) พัฒนาและประเมินตัวชี้วัดทักษะชีวิตและความสุขในการดำเนินชีวิตของเกษตร 3) ศึกษาแนวทางการสร้างเสริมทักษะชีวิตและความสุขของเกษตรกร 4) พัฒนาโมเดลการส่งเสริมเพื่อสร้างเสริมทักษะชีวิตและความสุขของเกษตรกร และ 5) ประเมินโมเดลการส่งเสริมเพื่อสร้างเสริมทักษะชีวิตและความสุขของเกษตรกร จังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มตัวอย่างคือ เกษตรกรในจังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งขึ้นทะเบียนไว้กับสำนักงานเกษตรจังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 278 ราย ใช้แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง การพัฒนาโมเดลและประเมินโมเดล กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้เชี่ยวชาญ 15 ราย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวน และวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) เกษตรกรจังหวัดเชียงใหม่มีสภาพปัญหา ด้านทักษะชีวิตโดยรวมอยู่ในระดับมาก ความต้องการด้านทักษะชีวิตโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด สภาพปัญหา ด้านความสุขโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ความต้องการด้านความสุขโดยรวมอยู่ในระดับมาก และเกษตรมีทักษะชีวิตและความสุขโดยรวมอยู่ในระดับมาก ทักษะชีวิต มีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกับความสุขของเกษตรกร 2) ตัวชี้วัดทักษะชีวิต ประกอบด้วย 3 ด้าน คือ ด้านการประกอบอาชีพ ด้านการดำเนินงานกลุ่มและการเชื่อมโยงเครือข่าย ด้านการเรียนรู้ และตัวชี้วัดความสุขประกอบด้วย 7 ด้าน คือ ทางกาย ทางใจ การหาความรู้ ผลผลิตดี ครอบครัวดี การงานดี และสังคมดี ผลการเปรียบเทียบเพศ บทบาทระดับการศึกษา สถานภาพ ประสบการณ์ในการทำอาชีพเกษตรกร และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน ไม่แตกต่างกันทางสถิติ ส่วนอายุแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สภาพปัญหากับความต้องการทักษะชีวิต และความสุขของเกษตรกรด้านการประกอบอาชีพ (ผลิตและการตลาด) ด้านการบริหารกลุ่มและการสร้างเครือข่าย และด้านการเรียนรู้แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 เกษตรกรทำนากับเกษตรกรไม้ผลมีทักษะชีวิตและความสุขแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และอายุของเกษตรกรมีความสัมพันธ์กับระดับทักษะชีวิต 3) แนวทางการส่งเสริมมี 2 ส่วน คือ (1) ทักษะชีวิตของเกษตรกร คือ การพัฒนาคุณภาพชีวิตเกษตรกรให้สามารถพึ่งพาตนเองได้ และ (2) ความสุขของเกษตรกร คือ ปัจจัยความสุขด้านตนเองเกิดขึ้นจากสิ่งรอบ ๆ ตัวของเกษตรกรเองทั้งความภูมิใจที่ได้สืบทอดอาชีพความผูกพันและรักในอาชีพของตน 4) โมเดลมีองค์ประกอบ 5 ส่วน คือ (I) ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง (2) SMCR (3) แนวทางการสร้างทักษะชีวิต (4) ความสุข และ (5) ทักษะชีวิต และ 5) การประเมินโมเดล พบว่า โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ดังนั้นโมเดลจึงมีความเหมาะสม สอดคล้องกับบริบทของชุมชน และสามารถนำไปใช้ได้จริง.th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectเกษตรกร -- การดำเนินชีวิตth_TH
dc.subjectทักษะชีวิตth_TH
dc.subjectการส่งเสริมการเกษตร -- ไทยth_TH
dc.titleโมเดลการส่งเสริมเพื่อสร้างเสริมทักษะชีวิตและความสุขของเกษตรกรth_TH
dc.title.alternativeExtension model for enhancing farmers’ life skills and happiness Chiang Mai Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
168835.pdfเอกสารฉบับเต็ม33.48 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons