Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10047
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวาสนา ทวีกุลทรัพย์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorชัยยงค์ พรหมวงศ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorวรรณา บัวเกิด, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorทอฝัน กรอบทอง-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-10-27T02:25:45Z-
dc.date.available2023-10-27T02:25:45Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10047-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาชุดการเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์สำหรับการสอนแบบ ศูนย์การเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เรื่อง หลักการใช้ภาษาสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ให้มี ประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด 80/80 (2) ศึกษาความก้าวหน้าทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนจากชุดการ เรียนทางอิเล็กทรอนิกส์สำหรับการสอนแบบศูนย์การเรียน และ (3) ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อชุดการ เรียนทางอิเล็กทรอนิกส์สำหรับการสอนแบบศูนย์การเรียน กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่เรียนภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2550 โรงเรียน ภาษานุสรณ์บางแค จำนวน 44 คน ได้มาโดยเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือในการวิจัย คือ (1) ชุดการเรียนทาง อิเล็กทรอนิกส์สำหรับการสอนแบบศูนย์การเรียน เรื่อง หลักการใช้ภาษา จำนวน 3 หน่วย คือ หน่วยที่ 12 การใช้ เครื่องหมายวรรคตอน หน่วยที่ 13 การเขียนสะกดคำ และหน่วยที่ 14 การอ่านคำ (2) แบบทดสอบก่อนเรียนและ หลังเรียนแบบคู่ขนาน และ (3) แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียน การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การหาค่า ประสิทธิภาพ E,/E, ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า (1) ชุดการเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์สำหรับการสอนแบบศูนย์การเรียน เรื่อง หลักการใช้ภาษา ที่พัฒนาขึ้นทั้ง 3 หน่วยมีประสิทธิภาพ 79.83/79.38 , 79.53/80.63 และ 80.16/81.25 เป็นไปตาม เกณฑ์ 80/80 (2) นักเรียนมีความก้าวหน้าในการเรียนจากชุดการเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์สำหรับการสอนแบบศูนย์ การเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) นักเรียนมีความคิดเห็นต่อชุดการเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์ สำหรับการสอนแบบศูนย์การเรียน ว่ามีคุณภาพในระดับเห็นด้วยมากth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.310-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectอิเล็กทรอนิกส์--แบบเรียนสำเร็จรูปth_TH
dc.subjectภาษาไทย--การใช้ภาษา--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)th_TH
dc.subjectภาษาไทย--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)--ไทย--กรุงเทพฯth_TH
dc.titleชุดการเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์สำหรับการสอนแบบศูนย์การเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เรื่อง หลักการใช้ภาษาสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 3th_TH
dc.title.alternativeE-learning packages for learning center instruction in the Thai language learning area on principles of Thai language usage for Prathom Suksa VI student in Bangkok Educational Service Area 3th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2007.310-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeResearch findings showed that (1) the three units of e-Leaning packages The purposes of this study were threefolds; (1) to develop e-Learning Packages for Learning Center instruction in the Thai Language Leaning Area on Principles of Thai Language Usage for Prathom Suksa VI Students based on the 80/80 efficiency criterion; (2) to study the learning progress of the students who learned from the e-Learning Packages for learning Center instruction; and (3) to study the opinion of the students on the quality of e-Learning Packages for learning center instruction. The research sample consisted of 44 purposively selected Prathom Suksa VI students studying in the second semester of the 2007 academic year at Pasanusorn Bangkhae School. Research instruments comprised (1) three units of e-Learning packages for learning center instruction in Thai Language Learning Area on Principles of Thai Language Usage, Usage, namely, Unit 12: The Use of Punctuation Marks; Unit 13: Spelling Thai Words; and Unit 14: Reading Thai Words; (2) two parallel forms of an achievement test for pre-testing and post-testing; and (3) a questionnaire asking the student's opinion on the quality of e-Learning packages. Statistics used were the E1/E2 efficiency index, mean percentage, standard deviation. and t-test. for learning center instruction were efficient at 78.83/79.38, 79.53/80.63; and 80.16/81.25 respectively; thus meeting the set efficiency criterion of 80/80; (2) the learning achievement of students learning from the e-Learning packages was significantly increased at the .05 level; and (3) the opinion of students on the quality of the e-Learning packages was at the "Highly Agreeable" levelen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม22.34 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons