Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10087
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเบญจมาศ อยู่ประเสริฐ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorพลสราญ สราญรมย์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจิราภรณ์ วงศ์วัฒนบุตร, 2526--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-10-30T04:07:25Z-
dc.date.available2023-10-30T04:07:25Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10087-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม.(ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) สภาพพื้นฐานทั่วไปของเกษตรกรที่เข้าร่วมกลุ่มเกษตรกรใช้สารอินทรีย์ลดการใช้สารเคมี (2) การใช้สารอินทรีย์ลดการใช้สารเคมีทางการเกษตรของเกษตรกร (3) ความรู้เกี่ยวกับการใช้สารอินทรีย์ลดการใช้สารเคมีทางการเกษตร (4) ความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งจูงใจในการใช้สารอินทรีย์ลดการใช้สารเคมีทางการเกษตรของเกษตรกร และ (5) ปัญหา และข้อเสนอแนะในการใช้สารอินทรีย์ลดการใช้สารเคมี ประชากรในการศึกษาครั้งนี้ คือ สมาชิกกลุ่มเกษตรกรใช้สารอินทรีย์ลดการใช้สารเคมีทางการเกษตร อำเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด ปี 2561 2562 ของสถานีพัฒนาที่ดินร้อยเอ็ด จํานวน 1,150 คน กลุ่มตัวอย่างคํานวณหาขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของทาโร่ยามาเน่ ที่ความคลาดเคลื่อน 0.05 ได้จํานวน 296 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าสูงสุด ค่าต่ำสุด ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า (1) เกษตรกรส่วนมากเป็นเพศชาย มีอายุเฉลี่ย 48.51 ปี จบการศึกษาระดับประถมศึกษา ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก เป็นสมาชิกกลุ่มเกษตรกร มีแรงงานในครัวเรือนเฉลีย 4.21 คน มีรายได้เฉลี่ย 178,272.99 บาท มีพื้นที่ทำการเกษตรเฉลี่ย 22.85 ไร่ (2) มีการผลิตปุ๋ยหมักโดยใช้สารเร่งซุปเปอร์ พด.1 และมีการเตรียมหลุมปลูกโดยคลุกเคล้าปุ๋ยหมักกับดินก่อนรองก้นหลุม ผลิตน้ำหมักชีวภาพโดยใช้สารเร่งซุปเปอร์ พด.2 จากผักและผลไม้และใช้น้ำหมักชีวภาพมาฉีดพ่นพืชผักทุก ๆ 10 วัน ผลิตสารควบคุมเชื้อสาเหตุของโรคพืชโดยใช้เวลาในการหมัก 7 วันและใส่รองก้นหลุมหรือรอบทรงพุ่มในไม้ผล การหมักสารควบคุมแมลงศัตรูพืชโดยใช้สารเร่งซุปเปอร์ พด.7 ใช้เวลา 2 วันและใช้สารควบคุมแมลงศัตรูพืช : น้ำ อัตรา : 100 ปลูกพืชปุ๋ยสดในพื้นที่ที่ดินขาดความอุดมสมบูรณ์ ดินไม่อุ้มน้ำและใช้อัตรา 5 กิโลกรัม/ไร่ ใช้โดโลไมท์เพื่อปรับสภาพความเป็นกรดของดิน (3) เกษตรกรมีความรู้เกี่ยวกับการผลิตและการใช้สารอินทรีย์ในระดับมากถึงมากที่สุด โดยมีความรู้มากที่สุดใน 3 ประเด็น ได้แก่ ระยะเวลาการผลิตสารควบคุมแมลงศัตรูพืชโดยใช้สารเร่งซุปเปอร์ พด.7 อัตราการใช้ปอเทือง ถั่วพร้าเป็นพืชปุ๋ยสด การรด รักษาความชื้นในกองปุ๋ยได้รับความรู้จากแหล่งความรู้มากที่สุดจากเจ้าหน้าที่สถานีพัฒนาที่ดิน การประชุมและจากแอพพลิเคชั่น Line/ facebook (4) สิ่งจูงใจในการใช้สารอินทรีย์ลดการใช้สารเคมีทางการเกษตร เกษตรกรให้ความสำคัญมากที่สุดใน 3 ประเด็น ได้แก่ การผลิตปุ๋ยหมัก น้ำหมักชีวภาพ ทำให้ต้นทุนการผลิตพืชลดลงจากเดิม การได้รับปัจจัยการผลิตอย่างเพียงพอเจ้าหน้าที่รับฟังความคิดเห็นของเกษตรกร และ (5) ปัญหาในการใช้สารอินทรีย์ พบว่า ภาพรวมอยู่ในระดับน้อย โดยมีปัญหาเรื่องการผลิตปุ๋ยหมักและน้ำหมักชีวภาพการประชาสัมพันธ์โครงการไม่ทั่วถึง และปัจจัยการผลิตที่สนับสนุนไม่เหมาะสมกับปัญหาในพื้นที่เสนอแนะให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้ามาสนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการผลิตอย่างต่อเนื่องทุกปี เพื่อลดค่าใช้จ่ายให้กับเกษตรกรth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร --วิทยานิพนth_TH
dc.subjectเกษตรอินทรีย์th_TH
dc.subjectเกษตรกร--ไทย--ร้อยเอ็ดth_TH
dc.titleการใช้สารอินทรีย์ลดการใช้สารเคมีทางการเกษตรของเกษตรกรในพื้นที่อำเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ดth_TH
dc.title.alternativeOrganic substance utilization to reduce chemical substance utilization of farmers in Suvarnabhumi distric, Roiet Provincen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study 1) the general basic conditions of the farmers participating farmer groups of organic substance utilization to reduce chemical substance utilization (2) Organic substance utilization to reduce chemical substance utilization of farmers (3) Knowledge about organic substance utilization to reduce chemical substance utilization in agriculture of farmers participating farmer group of organic substance utilization to reduce chemical substance utilization (4) Comments on incentives for use organic substance utilization to reduce chemical substance utilization of farmers (5) Problems and suggestions on organic substance utilization to reduce chemical substance utilization of farmers. The population in this study was 1,150 persons who participating farmer groups of organic substance utilization to reduce chemical in agriculture ,Suvarnabhumi District, Roi-Et Province 2018/2019 of Land Development Roi- Et Station, the sample size was determined by using the Taro Yamane formula with a tolerance of 0.05 for 296 persons by calculate the sample size using the formula of Taro Yamane (1973) and using a simple randomization method by lottery. Data were collected by using questionnaires. The statistical methodology use to analyze the data by computer programs were maximum, minimum, frequency, percentage, mean, standard deviation. The results of the study were as follows : (1) Most of the farmers were male. Their average age of 48.51 years, completed primary education. Agriculture is the main occupation. Their average number of labor was 4.21 persons, their with an average income of 178,272.99 baht, The average agricultural area 22.85 rai. (2) Compost was produced by using Microbial activator Super LDD 1, and the planting hole was prepared by mixing the compost with the soil before supporting the bottom of the pit. Produce bio-extract juice by using Microbial activator Super LDD 2 from fruits and vegetables and using bio-fermented water to spray vegetables every 10 days. Production of pathogens that cause plant diseases it took 7 days to ferment and put the bottom of the hole or around the canopy in fruit trees. insect pesticides by Microbial activator super LDD 7 the fermentation time is 21 days. There is insect pest repellant by plants : water at the rate of 1: 100. Grow green manure plants in areas where the land is not fertile. The soil does not hold water at the rate of 5 kilograms/rai. Dolomite is used to improve soil acidity. (3) Farmers are knowledge about organic production and use at the high level. by receiving the most knowledge from 3 issues which Production periodare pesticides by Microbial activator super LDD 7, Crotalar juncea L.ia and Canavalia ensiformis L.,watering to maintain moisture in the pile of fertilizer. and receiving knowledge from the most sources of knowledge from land development station officer,Meetings and from Line / facebook applications. 4) Motivation affecting organic substance utilization to reduce chemical substance utilization the most in 3 issues are namely the production of compost bio-fermented water Causing the cost of plant production to decrease from the original Obtaining sufficient production factors The officials listen to the opinions of farmers and(5) Problems in using organic substances found that the overall picture is at a low level. With problems in the production of compost and bio-fermented water Publicity of the project is not thorough. And the supporting production factors are not suitable for the problems in the area Suggest that related agencies come to support the materials used in production as continuously every year To reduce costs for farmersen_US
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
165526.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.83 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons