Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10089
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุวรรณี ยหะกร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorไพรัช สู่แสนสุข, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสมพงษ์ เหล่าอรรถคะ-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-10-30T04:20:50Z-
dc.date.available2023-10-30T04:20:50Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10089-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (หลักสูตรและการสอน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระ การเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างก่อนและ หลังการสอนบูรณาการแบบสอดแทรก และ (2) เปรียบเทียบเจตคติทางการเรียนกลุ่มสาระการ เรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างก่อนและหลัง การสอนบูรณาการแบบสอดแทรก กลุ่มตัวอย่าง เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านหนองปอ จังหวัด ขอนแก่น ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2550 จำนวน 13 คน ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือ ที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ (1) แผนการจัดการเรียนรู้ที่สอนบูรณาการแบบสอดแทรก (2) แบบทดสอบ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และ (3) แบบวัดเจตคติทางการเรียน สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือ การ หาค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า (1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคม ศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ของนักเรียนหลังการสอน บูรณาการแบบสอดแทรกสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 และ (2) เจตคติ ทางการเรียนหลังเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 ของนักเรียนหลังการสอนบูรณาการแบบสอดแทรกสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.432-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการสอนแบบบูรณาการth_TH
dc.subjectนักเรียนประถมศึกษา--ไทย--ขอนแก่นth_TH
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนth_TH
dc.titleผลการสอนบูรณาการแบบสอดแทรกที่มีต่อผลสัมฤทธิ์และเจตคติทางการเรียน ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านหนองปอ จังหวัดขอนแก่นth_TH
dc.title.alternativeThe effects of infusion integrated teaching method on learning achievement and attitude in the social studies, religion and culture learning area of Prathom Suksa VI students at Ban Nong Po School in Khon Kaen Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2007.432-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรและการสอน)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to: (1) compare learning achievements in the Social Studies, Religion and Culture Learning Area of Prathom Suksa VI students before and after being taught with the infusion integrated teaching method; and (2) compare learning attitudes in the Social Studies, Religion and Culture Learning Area of Prathom Suksa VI students before and after being taught with the infusion integrated teaching method. The research sample consisted of 13 purposively selected Prathom Suksa VI students studying in the first semester of the 2007 academic year at Ban Nong Po School in Khon Kaen province. The employed research instruments were (1) learning plans under the infusion integrated teaching method; (2) an achievement test; and (3) an attitude assessment scale. Statistics for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. Research findings showed that (1) students' post-learning learning achievement in the Social Studies, Religion and Culture Learning Area was significantly higher than their pre-learning counterpart at the .05 level; and (2) students' post-learning learning attitude in the Social Studies, Religion and Culture Learning Area was significantly higher than their pre-learning counterpart at the .05 level.en_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.21 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons