Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1008
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปธาน สุวรรณมงคลth_TH
dc.contributor.authorนิธิศ จิตนิยม, 2506-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-25T08:38:01Z-
dc.date.available2022-08-25T08:38:01Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1008-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม. (การเมืองการปกครอง))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2555th_TH
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) การรับรู้ข่าวสารทางการเมือง ของกลุ่มนักเรียนผู้เริ่มมีสิทธิเลือกตั้งระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 จังหวัดกาญจนบุรี (2) ความคิดทางการเมือง ของกลุ่มนักเรียนผู้เริ่มมีสิทธิเลือกตั้งระดับมีมัธยมศึกษาปีที่ 6 จังหวัดกาญจนบุรี การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพ ประชากรวิจัย ได้แก่ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่เริ่มมีสิทธิเลือกตั้งจังหวัดกาญจนบุรี โดยกลุ่มตัวอย่างวิจัยเชิงปริมาณมี จำนวน 333 คน กลุ่มตัวอย่างวิจัยเชิงคุณภาพ มี จำนวน 35 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือแบบสัมภาษณ์ วิเคราห์ข้อมูลโดยการหาค่าร้อยละ ค่าความถี่และการวิเคราะห์เชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า (1) การรับรู้ข่าวสารทางการเมืองของกลุ่มนักเรียนผู้เริ่มมีสิทธิเลิกตั้งจังหวัดกาญจนบุรี ส่วนใหญ่มีการรับรู้ข่าวสารทางการเมืองผ่านสื่อโทรทัศน์มากที่สุด โดยที่กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ระบุว่า การประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการเมืองและการเลือกตั้งในสถานศึกษายังมีน้อยมาก (2) ความคิดทางการเมืองของกลุ่มนักเรียนผู้เริ่มมีสิทธิเลือกตั้งระดับ มัธยมศึกษาปีที่ 6 จังหวัดกาญจนบุรี ส่วนใหญ่เห็นว่าการเมืองยังเป็นเรื่องการแสวงหาผลประโยชน์ แสวงหาอำนาจและเอื้อประโยชน์แก่พวกพ้องยังมีการซื้อสิทธิ์ขายเสียงและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ได้รับการเลือกตั้งยังขาดคุณภาพจริยธรรมและความซื่อสัตย์ และกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ เห็นด้วยกับการที่นายกรัฐมนตรีควรมาจากการเลือกตั้งและการเลือกตั้งคือวิธีการที่ดีที่สุดในระบอบประชาธิปไตย และควรเปิดโอกาสให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการตัดสินใจทางการเมืองth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.77en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectเยาวชน -- กิจกรรมทางการเมืองth_TH
dc.subjectเด็กกับการเมืองth_TH
dc.titleการรับรู้ข่าวสารทางการเมืองกับความคิดทางการเมืองของกลุ่มนักเรียนผู้เริ่มมีสิทธิเลือกตั้ง ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 จังหวัดกาญจนบุรีth_TH
dc.title.alternativeReception of political news and political ideas of new voters in Grade Matayom 6 in Kanchanaburi Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2012.77en_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study: (1) the reception of political news of new voters or young people who will soon be of voting age in grade Matayom 6 (the last year of secondary school) in Kanchanaburi Province; (2) the students’ ideas about politics in the democratic system. This was both a quantitative and qualitative research. The sample population was chosen among Matayom 6 level students in Kanchanaburi Province who were starting to gain the right to vote. Data were collected from 333 students for the quantitative portion and 35 students were interviewed for the qualitative portion. Data were analyzed using percentage, frequency and descriptive analysis. The results showed that (1) The students surveyed received the most political news through television. They reported that there was very little public relations or information given about politics and voting in their school. (2) Most of the students said they thought that politics was about gaining benefits, competing for power and benefitting your friends or associates. They thought there was vote-buying still going on and that the elected members of parliament lacked ethics and honesty. The majority of students agreed that the prime minister should be elected. They agreed that elections were the best method in the democratic system and they thought that citizens should be given the opportunity to participate in political decisionsen_US
dc.contributor.coadvisorธโสธร ตู้ทองคําth_TH
Appears in Collections:Pol-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib137410.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.32 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons