Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10108
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพลสราญ สราญรมย์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสินีนุช ครุฑเมือง แสนเสริม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุธิษา สิมมา, 2531--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-10-30T07:28:05Z-
dc.date.available2023-10-30T07:28:05Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10108-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม.(ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพพื้นฐานทั่วไปของเกษตรกร 2) การดำเนินงานการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ 3) ความต้องการการส่งเสริมการค้าเนินงานการเกษตรแบบแปลงใหญ่ 4) ปัญหาการค้าเนินงานการเกษตรแปลงใหญ่ 5) ข้อเสนอแนะ และแนวทางการพัฒนาการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ สมาชิกของกลุ่มแปลงใหญ่ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร ผ่านการจัดชั้นคุณภาพกลุ่มแปลงใหญ่ระดับ B และ C จำนวน 1,455 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างตามสูตรทาโร่ ยามาเน่ ทีค่าความคลาดเคลื่อนเท่ากับ 0.08 ได้ขนาดกลุ่มตัวอย่าง 142 คน สุ่มตัวอย่างแบบง่ายเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติในการวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าสูงสุด ค่าต่ำสุด ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า 1) เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุเฉลี่ย 55.66 ปี จบการศึกษาประถมศึกษา มีจํานวนสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 3.52 คน จํานวนแรงงานในครัวเรือน 2.30 คน ระยะเวลาเข้าร่วมแปลงใหญ่ 1.85 ปี เกษตรกรส่วนใหญ่มีพื้นที่ถือครองทางการเกษตรเป็นของตนเอง มีพื้นที่ทางการเกษตรเฉลี่ย 6.83 ไร่ 2) เกษตรกรมีการดำเนินงานแปลงใหญ่ในระดับน้อย 3 อันดับแรก ได้แก่ การใช้เครื่องจักรกลร่วมกันการติดตามข้อมูลความต้องการของลูกค้าและตลาด และ แผนการลดต้นทุนที่ชัดเจน ตามลำดับ 3) เกษตรกรมีความต้องการการส่งเสริม จากนักส่งเสริมภาครัฐมากที่ ต้องการการส่งเสริมในด้านเนื้อหา 3 อันดับแรก ได้แก่ การก้าหนดบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการ แผนการลดต้นทุน และการพัฒนาคุณภาพผลผลิต ด้านวิธีการส่งเสริมเกษตรกรต้องการวิธีการส่งเสริมแบบรายบุคคลมากที่สุด ต้องการการส่งเสริมแบบกลุ่ม และต้องการการส่งเสริมแบบมวลชน ตามลำดับ 4) เกษตรกรมีปัญหาในการดำเนินงานแปลงใหญ่ 3 อันดับแรก ได้แก่ การแต่งตั้งคณะกรรมการ การกำหนดลูกค้าและแหล่งจำหน่ายเพื่อใช้เป็นข้อมูลในการประกอบการลูกค้า และการจัดทำแผนธุรกิจในระดับกลุ่ม 5) ข้อเสนอแนะ และแนวทางการพัฒนา ได้แก่ จัดให้มีการประชุมพบปะสมาชิกอย่างน้อยเดือนละครั้ง สมาชิกในกลุ่มต้องมีความสามัคคี ร่วมมือร่วมใจกัน และกลุ่มจะต้องมีการเพิ่มช่องทางการตลาด มีแผนการผลิตจําหน่ายที่แน่นอนชัดเจนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการส่งเสริมการเกษตรth_TH
dc.titleการดำเนินงานการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพรth_TH
dc.title.alternativeThe operation in collaborative farming of Lang Suan district in Chumphon Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study 1) general conditions of farmers 2) the operational extension of Collaborative Farming, 3) the needs for operational extension of Collaborative Farming, 4) the operational problems of Collaborative Farming and 5) suggestions and guidelines for operational development in Collaborative Farming extension. The population of this study was 1,455 members of Collaborative Farming group from Lang Suan district, Chumphon province who passed the qualification of the ranking level B and C of Collaborative Farming quality. The 142 sample size of was determined by Taro Yamane formula with the error value of 0.08, simple random sampling method. Data was collected by conducting interviews. Statistics used were frequency, percentage, mean, minimum value, maximum value, standard deviation, and content analysis. The results of the study showed that 1) most of the farmers were female with the average age of 55.66 years and completed the compulsory primary education. The average members of the household was 3.52 persons and the average labors in the household was 2.30 persons The participation period in the Collaborative Farming was 1.85 years. Most farmers possessed their own agricultural land with the average area of 6.83 rai ( 1 rai = 1 ,6 0 0 square meters) . 2) Farmers had operated the Collaborative Farming at the low level on 3 aspects: the co-usage of the machine, the follow up about the information on the needs of clients and market and the obvious plan to reduce the cost respectively. 3) The extension on knowledge of productivity development, productivity increase and production plan and distribution were the first 3 aspects needed by the farmers. The extension method by face to face with the officers was needed in persons while in academic documents was needed in group. 4) The top 3 problems in the operation of Collaborative Farming were the committee appointment, the target customer identification and distribution sources for business information, and the group business plan. Organization of members’ meeting for at least once a month, the group members’ unity, cooperation, the increase of steady marketing channels were suggested and should be adopted as guidelinesen_US
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
165529.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.01 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons