Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10109
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ดวงเดือน สุวรรณจินดา | th_TH |
dc.contributor.author | สุปราณี ติงสะ, 2533- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-10-30T07:35:51Z | - |
dc.date.available | 2023-10-30T07:35:51Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10109 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (วิทยาศาสตร์ศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง การย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ระหว่างก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐาน และ (2) เปรียบเทียบกรอบความคิดของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ระหว่างก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐาน กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาในงานวิจัยนี้เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสระแก้ว จังหวัดสระแก้ว จำนวน 40 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องการย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์โดยใช้แบบจำลองเป็นฐาน แบบวัดแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ก่อนเรียนและหลังเรียน แบบประเมินกรอบความคิด แบบบันทึกหลังสอน และแบบบันทึกการเรียนรู้ของนักเรียน ทาการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์เนื้อหาผลการวิจัยปรากฏว่า (1) คะแนนเฉลี่ยแนวคิดทางวิทยาศาสตร์เรื่องการย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หลังเรียนโดยใช้การเรียนรู้แบบจำลองเป็นฐานสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (2) ค่าเฉลี่ยกรอบความคิดของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หลังเรียนโดยใช้การเรียนรู้แบบจำลองเป็นฐานสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกวิทยาศาสตร์ศึกษา--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | วิทยาศาสตร์--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)--ไทย--สระแก้ว | th_TH |
dc.subject | การย่อยอาหาร--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) | th_TH |
dc.title | ผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐาน เรื่อง การย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์ที่มีต่อแนวคิดทางวิทยาศาสตร์และกรอบความคิดของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสระแก้ว จังหวัดสระแก้ว | th_TH |
dc.title.alternative | The effects of model-based learning management in the topic of digestion and cellular respiration on scientific conception and mindset of Mathayom Suksa IV students at Sa Kaeo School in Sa Kaeo Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were (1) to compare levels of scientific conception in the topic of Digestion and Cellular Respiration of Mathayom Suksa IV students before and after learning under the model-based learning management; and (2) to compare levels of mindset of the students before and after learning under the modelbased learning management. The research sample consisted of 40 Mathayom Suksa IV students at Sa Kaeo School in Sa Kaeo province, obtained by cluster random sampling. The research instruments were learning management plans in the topic of Digestion and Cellular Respiration for the model-based learning management, a scale to assess scientific conception for pre-testing and post-testing, an evaluation form on mindset, a postteaching note taking form, and a student’s learning recording form. The data were analyzed using the frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, and content analysis. The results showed that (1) the post-learning scientific conception mean score in the topic of Digestion and Cellular Respiration of Mathayom Suksa IV students who learned under the model-based learning management was significantly higher than their pre-learning counterpart mean score at the .05 level of statistical significance; and (2) the post-learning mindset mean score of Mathayom Suksa IV students who learned under the model-based learning management was significantly higher than their prelearning counterpart mean score at the .05 level of statistical significance. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | สุจินต์ วิศวธีรานนท์ | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
167081.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 19.78 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License