Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1010
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปธาน สุวรรณมงคล | th_TH |
dc.contributor.author | นุชจรี พงษ์เจริญ, 2516- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-26T00:15:38Z | - |
dc.date.available | 2022-08-26T00:15:38Z | - |
dc.date.issued | 2552 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1010 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ร.ม. (การเมืองการปกครอง))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อ (1) ประเมินผลนโยบายขจัดความยากจน กรณีโครงการพัฒนาศักยภาพของหมู่บ้าน/ชุมชน ด้านปัจจัยนำเข้า กระบวนการ ผลผลิต ผลลัพธ์ และผลกระทบ (2) ศึกษาปัญหาและอุปสรรคที่เกิดจากการดำเนินตามนโยบายขจัดความยากจน (3) เสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรคจากการดำเนินตามนโยบายขจัดความยากจน การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย แบ่งเป็น 4 กลุ่ม คือ ข้าราชการ 2 คน นักปกครองท้องที่ 6 คน สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล 6 คน และคณะกรรมการโครงการ จำนวน 15 คน รวมทั้งสิ้น 29 คน โครงการพัฒนาศักยภาพของหมู่บ้าน/ชุมชน ที่เป็นกรณีศึกษามี จำนวน 3 โครงการ โดยเลือกขนาดละ 1 โครงการ เครื่องมือวิจัยใช้แบบสัมภาษณ์แบบเจาะลึก และใช้การวิเคราะห์ข้อมูลแบบวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า (1) ในการประเมินผลนโยบายขจัดความยากจน พบว่า 1.1) ด้านปัจจัยนำเข้าวัตถุประสงค์ของโครงการมีความชัดเจน กลยุทธ์วิธีการและสถานที่โนการดำเนินโครงการมีความเหมาะสมบุคคลากรมีความพรัอม งบประมาณและทรัพยากรมีความเพียงพอ 1.2) ด้านกระบวนการ โครงการทั้ง 3 ขนาดสามารถดำเนินงานได้ตามขั้นตอน แต่ด้านความรับรู้ในขั้นตอนการดำเนินงานของคณะกรรมการ มีเพียงโครงการขนาดใหญ่เท่านั้นที่มีความรัความเข้าใจเป็นอย่างดี 1.3) ด้านผลผลิต การดำเนินงานโครงการทั้ง 3 ขนาด บรรลุตามวัตถประสงค์แล้วเสร็จตามระยะเวลาและงบประมาณที่กำหนด 1.4) ด้านผลลัพธ์ ประชาชนมีส่วนร่วมในการดำเนินโครงการ โดยโครงการขนาดเล็กและโครงการขนาดใหญ่สามารถแก้ไขปัญหาด้านการดำเนินชิวิต ส่วนโครงการขนาดกลางสามารถแก้ไขปัญหาด้านรายได้ด้านผลกระทบ โครงการ ทั้ง 3 ขนาดมีผลกระทบทางสังคมทั้งด้านบวกและลบ ผลกระทบทางเศรษฐกิจมีเพียงโครงการขนาดกลางเท่านั้นที่มีผลกระทบทางด้านบวก ส่วนผลกระทบทางด้านลบไม่พบโนโครงการทั้ง 3 ขนาดที่ศึกษา นอกจากนี้ โครงการทั้ง 3 ขนาด ยังมีผลกระทบทางการเมืองทั้งด้านบวกและด้านลบ (2) ปัญหาและอุปสรรคโครงการขนาดโหญ่ พบปัญหาอุปสรรคเรื่องส่วนต่าง ของเงินงบประมาณ ส่วนโครงการขนาดกลางและขนาดเล็กพบใหญ่หาอุปสรรคด้านกระบวนการ (3) ข้อเสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหาและอุปสรรค คือ รัฐบาลควรเพิ่มงบประมาณตามสัดส่วนจำนวนประชากรระดับอำเภอควรจัดให้มีการส่งเสริมด้านการประชาสัมพันธ์เพื่อให้ประชาชนเกิดความเข้าใจเกี่ยวกับโครงการและจัดอบรมผู้ไหญ่บ้านเพื่อให้เป็นผู้รับผิดชอบโครงการร่วม | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | ความจน -- นโยบายของรัฐ -- ไทย -- การประเมินผล | th_TH |
dc.title | การประเมินนโยบายขจัดความยากจน พ.ศ. 2548-2550 กรณีศึกษาโครงการพัฒนาศักยภาพของหมู่บ้าน/ชุมชน จังหวัดปราจีนบุรี | th_TH |
dc.title.alternative | Assessment of poverty eradication policy B.E. 2548-2550 : a case study of the potential development of the village/community (SML) project Prachin Buri Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | รัฐศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชารัฐศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were (1) to evaluate the factors of importation, processes, products, results and impact of the poverty eradication policy through the analysis of sample village/community potential development projects; (2) to study the problems with and obstacles to the poverty eradication policy; and (3) to form recommendations to solve those problems. This was qualitative research. The sample consisted of 29 people in 4 groups: 2 government employees, 6 local administrators, 6 members of Sub-district Administrative Organization councils, and 15 project committee members. Three village/community potential development projects were chosen as case studies, comprising one smalll project, one medium sized project and one large project. Data were collected using in-depth interviews and were analyzed by content analysis. The results showed that (1) the evaluation of the poverty eradication policy found that 1.1) the project objectives were clear; the methods, strategies and location were appropriate; the personnel were prepared; and the budget and resources were sufficient. 1.2) all 3 sizes of projects were carried out according to the set steps, but the awareness and understanding of the committee members about the project process was not good for the small and medium sized projects. 1.3) all of the studied projects accomplished their objectives within the set time period and budget. 1.4) for results, the local people participated in the project implementation; for the small project and the large project they were able to solve a problem in people’ร lives, and for the medium sized project they could solve the problem of income. 1.5) all 3 projects had both positive and negative social impact; only the medium-sized project had a positive economic impact while none of the 3 projects had negative economic impacts; (hey all also had both positive and negative political impacts. (2) In the large project, there was a problem of inconsistency in the budget. For the medium-sized and small projects there were problems with the implementation process. (3) To solve these problems, the government should provide a budget that is in proportion with the population in each area. On the district level, there should be more public relations work to inform people about the projects. The village headmen should receive training so they can jointly take responsibility for the projects | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ฐปนรรต พรหมอินทร์ | th_TH |
Appears in Collections: | Pol-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thesbib118363.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 4.51 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License