Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10115
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอรรณพ จีนะวัฒน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorทัสนี วงศ์ยืน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorองวินัยธรพิสิษฐ์ ศรีวิชา-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-10-30T08:13:05Z-
dc.date.available2023-10-30T08:13:05Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10115-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (บริหารการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับการปฏิบัติงานในกระบวนการ บริหารงานบุคคลตามความคิดเห็นของผู้บริหารและครูผู้สอนโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญ ศึกษา กรุงเทพมหานคร (2) เปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้บริหารและครูผู้สอนเกี่ยวกับระดับ การปฏิบัติงานในกระบวนการบริหารงานบุคคลของโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร และ (3) ศึกษาปัญหาและข้อเสนอแนะการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับกระบวนการ บริหารงาน บุคคลของโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารและครูผู้สอนในโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญ ศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร ทั้งหมด 12 โรงเรียน จำนวน 123 รูป / คน แบ่งเป็นผู้บริหาร จำนวน 19 รูป/คน ครูผู้สอน จำนวน 104 รูป/คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามแบบมาตร ประมาณค่า 5 ระดับ ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเอง มีค่าความเที่ยง 0.95 สถิติที่ใช้ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า (1) ผู้บริหารและครูผู้สอนมีความคิดเห็นเกี่ยวกับระดับการ ปฏิบัติงานในกระบวนการบริหารงานบุคคลอยู่ในระดับปานกลาง (2) ผู้บริหารและครูผู้สอนมี ความคิดเห็นเกี่ยวกับกระบวนการบริหารงานบุคคลไม่แตกต่างกัน และ (3) ปัญหาการบริหารงาน บุคคล ได้แก่ ขาดการวางแผนกำลังคนที่มีประสิทธิภาพ บุคลากรไม่มีความถนัดในงานที่รับ มอบหมาย งบประมาณในการบริหารและบุคลากรมีน้อย ขาดการส่งเสริมพัฒนาบุคคลและการ ประเมินผลการปฏิบัติงานที่จริงจัง ข้อเสนอแนะ คือ ควรมีการประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อแก้ปัญหาด้านงบประมาณ และควรมีการพัฒนาบุคคลอย่างจริงจังเพื่อสร้างประสิทธิภาพใน การทำงานทุกด้านth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.221-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectโรงเรียนพระปริยัติธรรม--การบริหารงานบุคคลth_TH
dc.titleกระบวนการบริหารงานบุคคลโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษาในเขตกรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeThe personnel management process of the general education section of Phra Pariyattidham School in Bangkok Metropolisth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2007.221-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารการศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to: (1) study the practice level in the personnel management process as perceived by administrators and teachers of the General Education Section of Phra Pariyattidham schools in Bangkok Metropolis; (2) compare opinions of administrators and teachers on the practice level in the personnel management process of the General Education Section of Phra Pariyattidham schools in Bangkok Metropolis; and (3) study problems and recommendations for solving problems concerning the personnel management process of the General Education Section of Phra Pariyattidham schools in Bangkok Metropolis. The research sample totaling 123 administrators and teachers from 12 Phra Pariyattidham schools in Bangkok Metropolis consisted of 19 administrators and 104 teachers. The employed research instrument was a 5-scale rating scale questionnaire developed by the researcher, with .95 reliability coefficient. Statistics employed for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, and t-test. Research findings revealed that (1) the practice level in the personnel management process as perceived by administrators and teachers was at the moderate level; (2) opinions of administrators and teachers on the personnel management process were not significantly different; and (3) problems of personnel management were the lack of efficient manpower planning; the personnel were not competent in performing the assigned job; insufficient budgets for personnel management; the lack of personnel promotion and development; and the lack of serious personnel evaluation; as for recommendations, the following were given: there should be coordination with concerned agencies to solve budget problem; and serious personnel development should be undertaken in order to improve efficiency in every aspect of work performance.en_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.43 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons